Page 132 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 132

4-12






                                   - ปรับปรุงดินใหมีความอุดมสมบูรณและลักษณะทางกายภาพที่เหมาะสมตอการ

                                                                                                      ั
                  ปลูกไมผล เนนการใชปุยอินทรีย หรือหากใชปุยวิทยาศาสตรตองใชในปริมาณเหมาะสม เพื่อปองกน
                  การชะลางของปุยที่มากเกินความตองการของพืชลงสูพื้นที่ชุมน้ำ
                                   - ควรปลูกพืชคลุมดินเพื่อรักษาความชุมชื้นใหแกดิน

                                   - ควรจัดทำระบบอนุรักษดินและน้ำเพื่อปองกันการชะลางพังทลายของดิน รวมถง ึ
                  การแนะนำทางดานการจัดการสภาพพื้นที่ เชน สงเสริมใหมีการปลูกพืชและไถพรวนในลักษณะ
                  ขวางความลาดชันของพื้นท  ี่
                                                                                                      
                                   - ชวยเหลือและสนับสนุนการแปรรูปผลิตผลไมอยางงาย เปนการเพิ่มมูลคาสินคา
                                                                                                      ิ
                  และเก็บไดนาน โดยการจัดการอบรมวิธีการผลิต การบริหารจัดการธุรกิจและสนับสนุนดานการเงน
                  ที่เหมาะสม
                                   - พัฒนาองคกรเกษตรที่ปลูกไมผลในเขตดังกลาวที่ใหความเขมแข็ง สามารถ
                  ดำเนินการเพื่อการชวยเหลือเกษตรกร ทั้งในดานปจจัยการผลิตทมีราคาคอนขางสูงและคณภาพของปจจัย
                                                                      ี่
                                                                             
                                                                                         ุ
                                                                                                     ึ
                  การผลิตที่ตองอยูในระดับที่ดี เชน ปุย สารกำจัดศัตรูพืช และกิ่งพันธุ ปญหาหนี้สินของเกษตรกรซงม ี
                                                                                                     ่
                  ผลกระทบตอการลงทุนของเกษตรกร การควบคุมคุณภาพของผลผลิต การจัดหาตลาดที่จะรับซื้อผลผลิต
                  ทางการเกษตรอยางเปนระบบ
                                (4) พื้นที่เกษตรผสมผสาน

                                                                                                      ิ
                                   มีเนื้อที่ 974 ไร หรือรอยละ 1.22 ของพื้นที่ศึกษา ปจจุบันพื้นที่ในเขตนี้มีการใชที่ดน
                  เพื่อปลูกพืชผัก ไมผล และนาขาว โดยมีการปลูกผสมผานกัน มสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                                                                      ี
                  ดินที่พบเปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาต ิ
                  ระดับต่ำถึงปานกลาง เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรผสมผสาน จากการประเมินคุณภาพที่ดิน

                                      ี
                                      ่
                                                              
                  ในการปลูกพืช พบวาทดอนในพื้นทเขตนี สวนใหญเหมาะสมปานกลางในการปลูกไมผลและพืชผัก
                                                      ้
                                                 ่
                                                 ี
                  และที่ลุมซึ่งมีพื้นที่ไมมาก เหมาะสมปานกลางตอการทำนา พื้นที่เขตนี สามารถพัฒนาเปนพื้นที่เกษตร
                                                                             ้
                           
                             
                  ทฤษฎีใหมได
                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นท  ี่
                                - ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพ่มอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก หรือปุยพืชสด
                                                             ิ
                  เพื่อชวยปรับปรุงโครงสรางของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เปนประโยชนสำหรับพืช รวมกับการใส
                  ปุยวิทยาศาสตรในอัตราสวนที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณใหแกดิน
                                - ควรมีการปรับสภาพพื้นที่ในแปลงนาขาว เพื่อควบคุมระดับการแชขังของน้ำ
                  ในระหวางการเพาะปลูกใหเหมาะสม
                                - ควรมีการขุดลอกคลองและเพิ่มทอลอดตามถนนสายหลักที่สรางขวางทางเดินน้ำ เพื่อให
                                        
                  การระบายน้ำในพื้นที่ปลูกขาวเปนไปอยางรวดเร็ว ไมใหเกิดน้ำแชขังเปนเวลานานจนตนขาวเสียหาย
                                - พิจารณาดำเนินการพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในพื้นที่ รวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพ

                  แหลงน้ำตามธรรมชาติใหมการกกเก็บน้ำไดดีขึ้น เพื่อใหสามารถใชประโยชนในการปลูกพืชฤดูแลงได
                                            ั
                                       ี
                           3) เขตปศุสัตว (หนวยแผนที่ B225)
                             มีเนื้อที่ 1,061 ไร หรือรอยละ 0.04 ของพื้นที่ศึกษา สภาพการใชที่ดินที่พบในพื้นที่เขตนี  ้

                  ไดแก ทุงหญาเลี้ยงสัตว โรงเรือนเลี้ยงสุกร โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และมา และจากการศึกษาพบวา
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137