Page 121 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 121

่
                                                         บทที 4
                    แผนการใชที่ดินเพื่อบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ


                        ปจจุบันพื้นที่ชุมน้ำตาง ๆ ของโลก รวมทั้งพื้นที่ชุมน้ำของประเทศไทยกำลังตกอยูในภาวะถกคกคาม
                                                                                                ู
                                                                                                  ุ
                                                          
                                            ั
                  จากการบุกรุกและกจกรรมการพฒนาในรูปแบบตาง ๆ ดานเกษตรกรรม ดานการประมง ดานอุตสาหกรรม
                                                                             
                                  ิ
                                                               
                              ั
                                                 ุ
                                            ี
                                     ื
                                                   ่
                                                                  ู
                                                                
                                                                     ื
                  และการขยายตวของเมอง โดยมสาเหตทสำคญ คือ ขาดขอมลพนฐานและขาดการวางแผนและการบริหาร
                                                                     ้
                                                      ั
                                                   ี
                                                           ่
                                                                                         
                                                             
                                                                                    ึ
                                                           ี
                         ื้
                                                                                                     ั
                  จัดการพนที่ชุมน้ำ นโยบายและการบริหารจัดการทไมชัดเจน ขาดความตระหนักถงคุณคาและความสำคญ
                  ของพื้นที่ชุมน้ำ ชุมชนขาดโอกาสในการมีสวนรวม ในการวางแผนและจัดการพื้นที่ชุมน้ำ ซึ่งพื้นที่ชุมน้ำ
                  อุทยานแหงชาติแกงกระจานเปนพื้นที่ชุมน้ำแหงหนึ่งที่เกิดภัยคุกคามดังที่กลาวขางตน ดังนั้น เพื่อให
                  เกิดการตระหนักในคณคาและความสำคัญของพื้นที่ชุมน้ำทควรไดรับการอนุรักษไวเปนมรดกทางธรรมชาต  ิ
                                                                                  
                                   ุ
                                      
                                                                 ี่
                  ใหชุมชนไดใชประโยชนอยางยั่งยืนตลอดไป กลุมวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำ กองนโยบายและ
                  แผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน จึงไดจัดทำแผนการใชที่ดินเพือบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคญ
                                                                                                     ั
                                                                     ่
                  ระดับนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจานขึ้น
                                              
                                                                                             ิ
                                                          ี
                        แผนการใชที่ดินของพื้นทศกษาในพื้นทรัศม 5 กโลเมตร รอบพืนทชุมน้ำอทยานแหงชาตแกงกระจาน
                                                              ิ
                                                      ี่
                                           ี่
                                                                                               
                                                                         ้
                                                                            ี
                                             ึ
                                                                                  ุ
                                                                            ่
                  ครอบคลุมพื้นที่บางสวนของจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ และจังหวัดราชบุรี โดยครอบคลุมพื้นท ี ่
                                                                                                      
                  ตำบลแกงกระจาน ตำบลสองพี่นอง ตำบลหวยแมเพรียง ตำบลปาเต็ง ตำบลพุสวรรค อำเภอแกง
                  กระจาน ตำบลยางน้ำกลัดเหนือ ตำบลหนองหญาปลอง ตำบลยางน้ำกลัดใต อำเภอหนองหญาปลอง
                  ตำบลเขากระปุก ตำบลกลัดหลวง อำเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี ตำบลหนองพลับ ตำบลหวยสัตวใหญ
                  ตำบลบึงนคร อำเภอหัวหิน ตำบลเขาจาว อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ตำบลบานบึง อำเภอ
                  บานคา ตำบลยางหัก อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี คิดเปนเนื้อที่ของพื้นที่ศึกษา 2,653,320 ไร โดย
                  แผนการใชที่ดินของพื้นที่ศึกษาเปนผลที่ไดจากการศึกษาและวิเคราะหสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาต  ิ
                                                                
                       
                  ไดแก ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรปาไมรวมกับการพิจารณาลักษณะการใชประโยชน
                   ี่
                                                        
                                               ี่
                  ทดิน ขอกฎหมายที่เกี่ยวของกับพื้นทในเขตปาไมตามกฎหมาย เชน เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตอุทยานแหงชาติ
                                                                          ิ
                  เขตปาสงวนแหงชาติ และนโยบายของรัฐที่เกี่ยวของกับพื้นที่ที่มีมตคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการใชที่ดิน
                  มติคณะรัฐมนตรีเรื่องการจำแนกการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติ และมต ิ
                  คณะรัฐมนตรีเรื่องการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม ประกอบกับการพิจารณาจากทิศทางตามกรอบ
                  นโยบายที่เกี่ยวของกับการกำหนดเขตการใชที่ดินภายในพื้นที่ศึกษาในรัศมี 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ชุมน้ำ
                                                                                       ิ
                               ิ
                  อทยานแหงชาตแกงกระจาน ไดแก ยุทธศาสตรของจังหวัด และแผนพฒนาการเศรษฐกจและสังคมแหงชาต ิ
                   ุ
                                 
                                                                         ั
                                              
                  รวมกับความตองการของทองถิ่น สามารถกำหนดแนวทาง การใชที่ดินตามศักยภาพของทรัพยากร
                  เพื่อการรักษาดุลยภาพของลักษณะทางนิเวศวิทยาและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยคำนึงถง
                                                                                                      ึ
                  สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนในพื้นที่
                        จากหลักเกณฑในการวางแผนการใชที่ดินของ FAO (1993) และการพิจารณาหลักเกณฑดาน
                  สิ่งแวดลอมตามขอมูลขอบเขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ (สำนักงานนโยบายและแผน
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2564) ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร สามารถกำหนดเขตการใชท่ดนได 
                                                                                                    ิ
                                                                                                   ี
                                                                                     ิ
                                                             ี
                  เปน 2 เขตหลัก ประกอบดวย เขตพื้นที่ชุมน้ำที่มความสำคัญระดับนานาชาต และเขตรักษาสมดล
                                                                                                      ุ
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126