Page 122 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
P. 122

4-2






                                                                                        ิ
                                                                                            ี
                  สภาพแวดลอมสภาพแวดลอมนอกเขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาตโดยมรายละเอียด
                  ของเขตตาง ๆ ดังนี้ (ตารางที่ 4-1 และรูปที่ 4-1)
                         
                                                                          ิ
                            1) เขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาต เปนเขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษ 
                                                                        ้
                                                                   
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตามกฎหมาย และอยูภายใตเขตพืนที่ที่กำหนดตามกฎหมาย ประกอบดวย
                                        
                      
                      ุ
                                        
                                                                                             ่
                                                                                             ื
                                           ู
                                                        
                  เขตคมครองสภาพปา เขตฟนฟสภาพปาอนุรักษ เขตบำรุงรักษาสภาพปา เขตฟนฟูสภาพปาเพอเศรษฐกิจ
                  เขตรักษาสมดุลสภาพแวดลอมในเขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ เขตคงสภาพพื้นที่
                  ชุมน้ำในเขตปาตามกฎหมาย และเขตคงสภาพพื้นที่ชุมน้ำนอกเขตปาตามกฎหมาย
                                                                                             ั
                            2)  เขตรักษาสมดุลสภาพแวดลอมนอกเขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดบนานาชาต  ิ
                  ประกอบดวย เขตปาไม โดยกำหนดเขตการใชที่ดินเปนเขตปาไมเพื่อการอนุรักษ (เขตคุมครองสภาพปา
                  เขตฟนฟสภาพปาอนุรักษ และเขตฟนฟทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไข) เขตปาไมเพื่อเศรษฐกิจ
                         ู
                                                   ู
                                                       ื่
                                             ู
                  (เขตบำรุงรักษาสภาพปา เขตฟนฟสภาพปาเพอเศรษฐกิจ และเขตฟนฟทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงอนไข)
                                                                           ู
                                                                        
                                                                                                  ื่
                  เขตเกษตรกรรม (เขตเกษตรกรรมเชิงอนุรักษในเขตชลประทาน เขตเกษตรกรรมเชิงอนุรักษนอกเขต
                  ชลประทาน และเขตปศุสัตว) ซึ่งจัดทำแนวเขตตามเขตที่มีการประกอบอาชีพอยูจริง และมีความเหมาะสม
                  ตามศักยภาพของที่ดินเพื่อการเกษตรระดับเล็กนอยถึงเหมาะสมสูง สถานภาพทรัพยากรดินในเขตพื้นท ี ่
                  ศึกษาพื้นที่ชุมน้ำนานาชาติอุทยานแหงชาติแกงกระจานมีขอจำกัดคอนขางมาก โดยรอยละ 95.84 เปน
                                                                                                    ี่
                                                                             ี
                                     ั
                                                                          ื
                                                                          ้
                                                                                                  ื้
                  ทรัพยากรดินที่มีขอจำกด คือเปนดินกรดในพื้นที่ดอน ดินตื้น และเปนพนท่ลาดชันเชิงซอน โดยเปนพนทดิน
                                                                                       
                  กรดในพื้นที่ดอน รอยละ 4.11 เปนพื้นที่ดินตื้น รอยละ 7.62 และเปนพื้นที่ลาดชันเชิงซอน รอยละ 84.11
                                                              ้
                                                                               ่
                  (ตารางที่ 2-4) สวนปญหาการชะลางพังทลายของดินในพืนที่ศึกษา พบวาพื้นทีท่มีความเสี่ยงตอการสูญเสียดน
                                                                                                      ิ
                                                                                ี
                  ในระดับที่รุนแรง รุนแรงมาก และรุนแรงมากที่สุด คิดเปนเนื้อที่รอยละ 2.61 0.49 และ 0.46 ของพื้นที่ศึกษา
                                                                            ี
                  ตามลำดับ (ตารางที่ 2-5) ทั้งนี้ เพื่อควบคุมและกำหนดเปนแนวเขตทสามารถรักษาระดับน้ำในที่ดอน
                                                                            ่
                  โดยไมใหใชเพื่อการเกษตรในชวงฤดูแลงมากเกินไป เขตชุมชนและสิ่งปลูกสราง ควรเรงศึกษาปญหา
                  ความตองการของทองถิ่นและจัดลำดับความสำคัญของปญหาเพื่อกำหนดแนวทางในการเขาพัฒนา
                  ไดอยางถูกตองตามความตองการของชุมชน พื้นที่แหลงน้ำ เปนพื้นที่ที่มีความสำคัญและเชื่อมโยง
                  กับเขตอื่น ๆ กำหนดเขตเปนพื้นที่แหลงน้ำในเขตปาไมตามกฎหมาย และพื้นที่แหลงน้ำนอกเขตปาไมตาม
                  กฎหมาย เปนพื้นที่ที่ตองดูแลอยางเขมงวด เนื่องจากพื้นที่แหลงน้ำนี้จะมีผลกระทบถึงพื้นที่ชุมน้ำ ซึ่งเปน
                  แหลงที่อยูอาศัยและวางไข แหลงอนุบาลของสัตวตาง ๆ และพื้นทอื่น ๆ ประกอบดวย เขตพื้นที่เบ็ดเตล็ด
                                                                        ี
                                                                        ่
                  เขตรักษาสมดุลสภาพแวดลอม/พื้นที่ลุม ทุงหญา ไมละเมาะ และเขตคงสภาพปาไมนอกเขตปาตามกฎหมาย
                                                           
                                                                                   
                  4.1  เขตพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ (หนวยแผนที Int.)
                                                                                ่
                        มีเนื้อที่ 1,897,758 ไร หรือรอยละ 71.52 ของพื้นที่ศึกษา อยูในเขตที่ประกาศเปนเขตพื้นที่ชุมน้ำ
                  ที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ ซึ่งรวมเอาพื้นที่ปาไมตามกฎหมายไวดวย เมอพจารณาตามวัตถประสงคหลัก
                                                                                            ุ
                                                                             ื
                                                                             ่
                                                                                ิ
                  ของการประกาศเขตและมาตรการของการใชที่ดินตามมตคณะรัฐมนตรีตาง ๆ พื้นที่เขตนี้กำหนดไวเพอ
                                                                                                      ่
                                                                  ิ
                                                                                                      ื
                                                                              
                  การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ พันธุพืชและพันธุสัตวปาที่หายาก ตลอดจนการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
                                                                                                    
                  เพื่อปองกันภัยธรรมชาติ เชน อุทกภัย ดินถลม การชะลางพังทลายของดิน รวมถึงประโยชนดาน
                                                                                            ิ
                  การศึกษาวิจัยและนันทนาการของประชาชน เขตนี้ครอบคลุมพื้นที่เขตปาอนุรักษตามมตคณะรัฐมนตรี
                  เรื่องการจำแนกเขตการใชทรัพยากรและที่ดินปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติ เมื่อวิเคราะหขอมูลสภาพ
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127