Page 18 - Wetland Phetchaburi
P. 18

2-6





                  ชุมน้ำสำคัญที่มีระบบนิเวศเชื่อมตอกับแมน้ำโขงทำใหมีความหลากหลายของสังคมพืชน้ำและชนิดพันธุ

                  สัตวพบพันธุปลาน้ำจืดถึง 123 ชนิด ในจำนวนนี้มีปลาประจำถิ่นและปลาอพยพที่มาจากแมน้ำโขง
                  ซึ่งมากกวา 56 ชนิดเปนปลาเศรษฐกิจ มีปลาซิวแคระ พันธุปลาน้ำจืดที่เล็กที่สุดเปนอันดับ 3 ของโลก
                  และเปนสัตวมีกระดูกสันหลังที่เล็กที่สุดของไทย ทั้งยังพบปลาที่อยูในสถานภาพเสี่ยงตอการคุกคาม คือ

                  ปลายี่สก หรือปลาเอิน พืชน้ำพบทั้งหมด 80 ชนิด และเปนชนิดใหมของโลก คือ ตนเล็บมาและสาหราย
                  ขาวเหนียวดอกเหลือง พรรณไมเดนที่พบมีทั้งกกสามเหลี่ยมหรือผือ สาหรายเทปยักษ และสาหรายขาว
                  เหนียวดอกเหลือง กุดทิงเปนแหลงพักพิงของนกอพยพและนกประจำถิ่นหลายชนิด เชนนกเปดน้ำ
                  เหยี่ยว และนกน้ำอื่นๆ อีกมากกวา 100 ชนิด ที่พบมากไดแก นกเปดแดง ยังมีรายงานการพบนกที่หา

                  ยากและอยูในสถานภาพถูกคุกคามของโลก ไดแก เปดลาย นกเปดหัวดำ รวมถึงเหยี่ยวหาดูไดยากอีก
                  2 ชนิด คือ เหยี่ยวทุงแถบเหนือ และเหยี่ยวทุงพันธุยุโรป
                              (13)  พื้นที่ชุมน้ำเกาะกระ จังหวัดนครศรีธรรมราช
                                  ตั้งอยูอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช อยูหางจากแผนดินประมาณ

                  350 กิโลเมตร เมื่อวัดในแนวตรงจากบริเวณอำเภอปากพนัง ประกอบดวยเกาะขนาดเล็ก 3 เกาะไดแก
                  เกาะกระใหญ เกาะกลาง (เกาะหลาม) เกาะเล็ก (เกาะบก) และกองหินขนาดเล็กอีก 1 กอง เรียกวา
                  หินเรือ ซึ่งมีสวนยอดโผลน้ำไมมากนัก ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ
                  เปนลำดับที่ 2,152 เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2556 มีเนื้อที่ทั้งหมด 2,337.5 ไร ความสำคัญเปนหมูเกาะ

                  ขนาดเล็กที่ตั้งอยูในอาวไทย ประกอบดวยภูเขาขนาดเล็ก แนวหินชายฝง พบความหลากหลายของ
                  ปะการังแข็ง กวา 67 ชนิด ซึ่งนับวาเปนแหลงปะการังที่หายากและสำคัญที่สุดแหงหนึ่งในประเทศไทย
                  นอกจากนี้ยังเปนแหลงวางไขที่สำคัญของเตาตนุ (Chelonia mydas) และเตากระ(Eretmochelys
                  imbricate) เปนแหลงอาศัยของนกโจรสลัดเกาะคริสตมาส (Fregata andrewsi) ซึ่งมีสถานภาพใกลสูญพันธุ

                              (14)  พื้นที่ชุมน้ำหมูเกาะระ–เกาะพระทอง
                                  ตั้งอยูอำเภอคุระบุรี และอำเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา ดานทิศเหนือจดอุทยาน
                  แหงชาติแหลมสนและทะเลอันดามัน ทิศใตจดทางหลวงหมายเลข 4 อำเภอตะกั่วปา ทิศตะวันออกจด
                  ทางหลวงหมายเลข 4 เทือกเขาแมนางขาว อุทยานแหงชาติศรีพังงา ทิศตะวันตกจดทะเลอันดามัน

                  ประกอบไปดวยเกาะตางๆ ที่อยูติดทะเลอันดามัน ไดแก เกาะระ เกาะพระทอง และเกาะคอเขา ประกาศ
                  เปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 2,153 เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2556
                  มีเนื้อที่ทั้งหมด 122,800 ไร ประกอบดวยเกาะขนาดใหญสองเกาะ มีความหลากหลายของระบบนิเวศที่

                  เปนทุงหญา ปาชายเลน ปาพรุ บึงน้ำจืด ปาดิบชื้นชายหาด หาดเลน หญาทะเล และแนวปะการังชายฝง
                  เปนถิ่นที่อยูอาศัยที่สำคัญของเตาหญา (Lepidochelys olivacea) เตากระ (Eretmochelys
                  imbricate) และเตามะเฟอง (Dermochelys coriacea) เปนที่อยูอาศัยที่สำคัญไมกี่แหงในประเทศ
                  ไทยของนกตะกรุม (Leptoptilos javanicus) ซึ่งเปนนกที่หายากและใกลสูญพันธุ นอกจากนี้ยังเปนที่
                  อยูอาศัยของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่สำคัญ อาทิ ลิ่นชวา (Manis javanica) กวางปา (Rusa unicolor)

                  รวมทั้งพะยูน (Dugong dugon) สัตวปาสงวน อีกทั้งแหลงหญาทะเลในพื้นที่กวา 4,375 ไร ยังเปน
                  แหลงขยายเพาะพันธุวางไขของพันธุปลาไมต่ำกวา 268 ชนิด
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23