Page 20 - Wetland Phetchaburi
P. 20

2-8






                  2.2  นโยบายของรัฐ
                        ประเทศไทยมีนโยบายที่ชวยกำกับดูแลพื้นที่ชุมน้ำ โดยสำนักงานนโยบายและแผน
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดจัดทำทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ

                  และระดับชาติของประเทศไทยและมาตราการการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ
                        2.2.1  มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 1 สิงหาคม 2543 เรื่องทะเบียนรายนามพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
                  ระดับนานาชาติและระดับชาติของประเทศไทย และมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ
                            สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวง

                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดจัดทำโครงการสำรวจ จัดทำทะเบียนรายชื่อ สถานภาพและ
                  ฐานขอมูลพื้นที่ชุมน้ำของประเทศไทย โดยพบวา พื้นที่ชุมน้ำของประเทศไทยประกอบดวยพื้นที่ชุมน้ำ
                  แหลงน้ำจืด ทั้งแหลงน้ำไหลและน้ำนิ่ง ไดแก คลอง หวย ลำธาร แมน้ำ น้ำตก หนอง อางเก็บน้ำ เขื่อน
                  ทะเลสาบ บึง พรุหญา พรุน้ำจืดที่มีไมพุม ที่ลุมชื้นแฉะ พื้นที่เกษตรที่มีน้ำทวมขัง และพื้นที่ชุมน้ำชายฝง

                  ทะเล ไดแก ปากแมน้ำ ชายหาด หาดเลน ปาชายเลน ปะการัง ครอบคลุมพื้นที่อยางนอย 36,616.16
                  ตารางกิโลเมตร (22,885,100 ไร) คิดเปนรอยละ 7.5 ของพื้นที่ประเทศไทย และไดพิจารณาจัดลำดับ
                  ความสำคัญของพื้นที่ชุมน้ำ ดังนี้
                              - พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ 61 แหง

                              - พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับชาติ 48 แหง
                              - พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่น 19,295 แหง
                              - พื้นที่ชุมน้ำที่สมควรไดรับการเสนอ เปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ

                  (Ramsar Sites) ตามอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำเปนลำดับแรก 9 แหง และพื้นที่ชุมน้ำที่สมควรไดรับ
                  การคุมครองและฟนฟูโดยเรงดวน 28 แหง พรอมทั้งจัดทำมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
                  ระดับนานาชาติและระดับชาติ ซึ่งประกอบดวย การอนุรักษ การสรางจิตสำนึก การศึกษาสำรวจและ
                  การปองกันไฟปา
                              - ขึ้นทะเบียนพื้นที่เกาะเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ จำนวน 10 แหง

                  และระดับชาติ 1 แหง
                        2.2.2  มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 และวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2558
                  เรื่อง การทบทวนมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 1 สิงหาคม 2543 เรื่อง ทะเบียนรายนามพื้นที่ชุมน้ำที่มี

                  ความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติของประเทศไทย และมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ
                            1)  เห็นชอบตอทะเบียนรายนามพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญของประเทศไทยโดยเพิ่มเติม ดังนี้
                              (1) เพิ่มเติมพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ จำนวน 8 แหง ไดแก พื้นที่ชุม
                  น้ำกุดทิง จังหวัดบึงกาฬ พื้นที่ชุมน้ำในเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานีพื้นที่ชุมน้ำใน

                  เขตหามลาสัตวปาเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี พื้นที่ชุมน้ำในเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร
                  จังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดตาก เกาะระ เกาะพระทอง จังหวัดพังงา เกาะกระ จังหวัดนครศรีธรรมราช
                  หาดทายเหมือง จังหวัดพังงา และพรุคันธุลี จังหวัดสุราษฎรธานี
                              (2) เพิ่มเติมพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับชาติ จำนวน 2 แหง ไดแก พรุแมรำพึง

                  จังหวัดประจวบคีรีขันธ และบึงสำนักใหญ (หนองจำรุง) จังหวัดระยอง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25