Page 15 - Wetland Phetchaburi
P. 15

2-3





                              (4)   พื้นที่ชุมน้ำปากแมน้ำกระบี่ จังหวัดกระบี่

                                  ตั้งอยูอำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแตสุสานหอย 75 ลานป
                  รวมพื้นที่ปาชายเลน หาดเลน หาดทราย ลำคลองนอยใหญหนาเมืองกระบี่จนถึงปาชายเลน และ
                  แหลงหญาทะเลผืนใหญบริเวณเกาะศรีบอยา

                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,100
                  เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 133,120 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
                  ระหวางประเทศ คือ เปนแหลงหญาทะเลในเกาะศรีบอยา และเปนพื้นที่ชุมน้ำชายฝงมีลักษณะเฉพาะ
                  แหงหนึ่งของประเทศไทยพบนกอยางนอย 221 ชนิด ในพื้นที่ปาชายเลน เปนแหลงที่พบนกที่อยูใน

                  สถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุและสถานภาพใกลสูญพันธุหลายชนิด เชน นกยางจีน (Egretta
                  eulophotes) นกฟนฟุท (Helioparis personata) และนกทะเลขาเขียวลายจุด (Tringa guttifer)
                  นอกจากนี้ยังพบพะยูน (Dugong dugon) ซึ่งอยูในสภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุ หาดเลนในพื้นที่ชุมน้ำ
                  ปากแมน้ำกระบี่จัดเปนหาดเลนที่มีความสำคัญมากตอนกอพยพในภาคใต มีความหลากหลายทาง

                  ชีวภาพสูง พบพันธุไม 35 ชนิด หญาทะเล 9 ชนิด รวมถึงพันธุปลา 232 ชนิด
                              (5)   พื้นที่ชุมน้ำเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย
                                  ตั้งอยูอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เปนบึงน้ำจืดอยูในเขตหามลาสัตวปาหนองบง
                  คายและเปนสวนหนึ่งของลุมน้ำเชียงแสนและทะเลสาบเชียงแสน

                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,101
                  เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 2,712.5 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
                  ระหวางประเทศ คือ เปนพื้นที่ที่มีความสำคัญตอนกประจำถิ่นและนกอพยพ โดยเฉพาะนกน้ำที่อยูใน
                  สภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุของโลก เชน เปดดำหัวดำ (Aythya baeri) และสถานภาพใกลสูญพันธุ

                  ของประเทศไทย เชน นกกาน้ำใหญ (Phalacrocora carbo) นกกระสาแดง (Ardea purpurea) และ
                  เหยี่ยวดำ (Milvus migrans) บริเวณเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย พบนก 121 ชนิด เปนแหลงที่นกทำรัง
                  วางไขบริเวณนี้อยางนอย 15 ชนิด บริเวณทะเลสาบพบพืช 185 ชนิด นกทั้งหมด 225 ชนิด และพบ
                  ปลาอยางนอย 46 ชนิด

                              (6)   พื้นที่ชุมน้ำเขตรักษาพันธุสัตวปาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ
                  (พรุโตะแดง)
                                  ครอบคลุมอำเภอเมืองนราธิวาส ตากใบ สุไหงโกลกและสุไหงปาดี จังหวัด

                  นราธิวาส เปนที่ราบลุมน้ำทวมขังซึ่งอยูหางจากชายฝงทะเล เปนแหลงรองรับน้ำจากลุมน้ำตอนบนทอด
                  ขนานไปกับแนวชายฝงทะเลภาคใตดานตะวันออกในระยะหางประมาณ 7 กิโลเมตร พื้นที่ประกอบดวย
                  พรุดั้งเดิม ปาพรุที่กลายสภาพเปนปาเสม็ด ไมพุมและพรุหญา มีภูมิอากาศคอนขางรอนและชื้นกวาปาชนิดอื่น
                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,102
                  เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 125,625 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ

                  ระหวางประเทศ คือ เปนปาพรุดั้งเดิมผืนใหญที่สุดที่ยังคงเหลืออยูในประเทศไทยและเปนแหลงที่มี
                  ความหลากหลายทางชีวภาพสูงทั้งพืชและสัตว พบสิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุ
                  และสถานภาพใกลสูญพันธุหลายชนิด เชน นกตะกรุม (Leptoptilos javanieus) นกฟนฟุท

                  (Heliopais personata) นกเปลาใหญ (Teron cepeller) เตาหม (Cuora amboinensis) เตาดำ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20