Page 13 - Wetland Phetchaburi
P. 13

บทที่ 2

                                           นโยบายที่เกี่ยวของกับพื้นที่ชุมน้ำ


                  2.1  อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ (Ramsar Convention)

                      อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ ตั้งชื่อตามสถานที่จัดใหมีการประชุมเพื่อรับรองอนุสัญญา
                  วันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2514 คือ เมืองแรมซาร ประเทศอิหราน อนุสัญญานี้เปนขอตกลงระหวาง
                  รัฐบาลซึ่งกำหนดกรอบการทำงานสำหรับความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อการอนุรักษและยับยั้ง
                  การสูญเสียของพื้นที่ชุมน้ำในโลก ซึ่งจะตองมีการจัดการเพื่อใชประโยชนอยางชาญฉลาด อนุสัญญาฯ
                  นี้มีผลบังคับใชเมื่อป พ.ศ. 2518 ตามเงื่อนไขวาอนุสัญญาฯ จะมีผลบังคับใชเมื่อมีประเทศตางๆ

                  เขารวมเปนภาคีปจจุบันมีประเทศตางๆ จากภูมิภาคทั่วโลก รวมทั้งสิ้น 160 ประเทศ (สำนักงาน
                  นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม)
                      ในระยะแรกการดำเนินงานจะมุงเนนที่ความเปนอยูของนกน้ำที่อาศัยในบริเวณพื้นที่ชุมน้ำตอมา

                  ไดเริ่มใหความสำคัญตอสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชนิดอื่นๆ มากขึ้น เพราะไดตระหนักและเห็นถึงคุณคา
                  ของพื้นที่ชุมน้ำวา มีความสัมพันธกับมนุษยมากขึ้น โดยเฉพาะชุมชนที่ตองพึ่งพาอาศัยพื้นที่ชุมน้ำทั้งใน
                  ชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพโดยตรง รวมทั้งยังอาศัยพื้นที่ชุมน้ำเปนปรากฏการณทาง
                  ธรรมชาติที่ปองกันภัยอันตรายทางธรรมชาติ เพื่อใหการดำเนินงานเปนไปในทางเดียวกัน อนุสัญญาฯ

                  จึงระบุไววาจะตองจัดใหมีการประชุมปกติ (Ordinary session) ในทุกๆ 3 ป
                      2.1.1 ประเด็นสำคัญของอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ
                          1) อนุสัญญาฯ ไมละเมิดอำนาจอธิปไตยของภาคีซึ่งเปนเจาของดินแดนที่มีพื้นที่ชุมน้ำ
                          2) อนุสัญญาฯ เปนอนุสัญญาระหวางประเทศที่สงเสริมใหประเทศตางๆ มีการอนุรักษ

                  และใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ชุมน้ำอยางยั่งยืนโดยเฉพาะอยางยิ่งใหความสำคัญตอการ
                  มีสวนรวมของชุมชน
                          3) พื้นที่ชุมน้ำที่ไดรับการเสนอชื่อเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศแลว
                  ตอมาหากมีความจำเปนประเทศภาคีสามารถเพิกถอนออกจากทำเนียบหรือจำกัดขอบเขตใหมได
                  แตทั้งนี้ตองเสนอพื้นที่อื่นทดแทนดวย

                          ประเทศไทยไดเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำเปนลำดับที่ 110 ซึ่งพันธกรณี
                  ของอนุสัญญาฯ มีผลบังคับ เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2541 ประเทศไทยเสนอพื้นที่ชุมน้ำพรุควนขี้เสียน
                  ในเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย เปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศแหงแรกของประเทศหรือ

                  เปนลำดับที่ 948 ในทะเบียนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ ปจจุบันประเทศไทยไดประกาศ
                  พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศเพิ่มขึ้นรวมทั้งหมด 15 แหง ดังนี้
                              (1)   พื้นที่ชุมน้ำพรุควนขี้เสียนในเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย
                                  ลักษณะทั่วไปเปนพื้นที่พรุ ไมเสม็ดขาว มีน้ำทวมขัง มีพืชประเภทกก

                  หญากระจูด กระจูดหนู ขึ้นอยูอยางหนาแนน ตั้งอยูทางเหนือสุดของทะเลสาบสงขลาในเขตจังหวัดพัทลุง
                  ไดรับประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2525 มีเนื้อที่ประมาณ
                  281,625 ไร มีอาณาเขตของผิวน้ำ ประมาณ 20,000 ไร
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18