Page 16 - Wetland Phetchaburi
P. 16
2-4
(Siebenroekiella crassicollis) ตะโขง (Tomistoma schlegelii) และจระเขน้ำ (Crocodylus porocus)
สถานภาพใกลถูกคุกคาม เชน นกเหยี่ยวหัวปลาใหญหัวเทา (Lchthyophaga ichthyaetus) นกโพระดก
หลากสี (Megalaima raffesii) นกหัวขวานสามนิ้วหลังสีไพร (Dinopium raffesii) นอกจากนี้ยังมีกลุม
สังคมพืชที่ซับซอน ทั้งพืชยืนตน พืชลมลุก เฟรนตางๆ ขึ้นอยูอยางหนาแนน มีพันธุไมเฉพาะถิ่นอยางนอย
50 ชนิด พบนกอยางนอย 217 ชนิด ปลาอยางนอย 62 ชนิด สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 59 ชนิด
สัตวเลื้อยคลาน52 ชนิด สัตวสะเทินน้ำสะเทินบก 19 ชนิด
(7) พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติหาดเจาไหม เขตหามลาสัตวปาหมูเกาะลิบง-
ปากแมน้ำตรัง
ตั้งอยูอำเภอสิเกาและอำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ประกอบดวยระบบนิเวศ
3 ลักษณะ คือ แมน้ำ ปากแมน้ำ และชายฝงทะเล ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวาง
ประเทศ เปนลำดับที่ 1,182 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 515,745 ไร ความสำคัญที่จัดเปน
พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ ไดแก ประกอบดวยพื้นที่ชุมน้ำหลากหลายรูปแบบ เชน
ปาชายเลน ปาจาก หาดเลนหาดทราย แนวปะการังและแหลงหญาทะเล เปนที่อยูอาศัยของชนิดพันธุที่
หายากและอยูในสถานภาพถูกคุกคามหลายชนิด พบนกอยางนอย 212 ชนิด โดยหาดเจาไหมเปนแหลง
ทำรังวางไขแหงเดียวของนกกระสาคอดำใน (Malay peninsular) มีความหลากหลายของชนิดพันธุพืช
และสัตว นอกจากนี้ยังเปนบริเวณที่มีความหลากหลายของหญาทะเลอยางนอย 8 ชนิด เชน หญาเตา
(Thalassia hemprichii) หญาชะเงาใบขาว (Enhalus acoroides) ระบบนิเวศนี้มีความสำคัญตอ
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดยเปนแหลงอาหารแหลงหลบภัย แหลงอนุบาลสัตวน้ำวัยออนโดยเฉพาะปลา กุง ปู และ
พะยูน (Dugong dugon) พบปลาอยางนอย 75 ชนิด สัตวสะเทินน้ำสะเทินบก 13 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน
39 ชนิด และสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนม 22 ชนิด
(8) พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติแหลมสน-ปากแมน้ำกระบุรี-ปากคลองกะเปอร
ตั้งอยูอำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง เปนปาชายเลนผืนใหญที่สุดที่เหลืออยู
ของประเทศไทยและเขตอินโดแปซิฟก ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ
ลำดับที่ 1,183 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2545 เนื้อที่ 677,625 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำ
ระหวางประเทศ คือ เปนพื้นที่ชุมน้ำที่ประกอบดวยระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำหลายแบบผสมผสานกัน
ไดแก หาดเลน หาดทราย แหลงปะการัง แหลงหญาทะเล และปาชายเลนดึกดำบรรพที่สุด มีความ
สมบูรณมากแหงหนึ่งของประเทศ พบตนโกงกางขนาดใหญที่มีอายุมากกวา 300 ป เปนแหลงที่อยูอาศัย
ของชนิดพันธุที่อยูในสถานภาพใกลสูญพันธุอยางยิ่ง คือ นกยางจัน (Egretta eulophotes) สถานภาพ
ใกลถูกคุกคาม คือ เหยี่ยวแดง (Haliatu rindus) เหยี่ยวหนาเทา (Butastus indicus) และสถานภาพ
มีแนวโนมใกลสูญพันธุ คือ นกกระเต็นใหญปกสีน้ำตาล (Haleyon amauroptera) เปนแหลงที่มี
ความหลากหลายทางชีวภาพสูงมาก พบนกอยางนอย 50 ชนิด สัตวที่อาศัยอยูหนาดินและในดิน 77 ชนิด
ปลามากกวา 82 ชนิด พบแหลงหญาทะเลบริเวณบานบางจากและบานหาดทรายดำ
(9) พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง
ประกอบดวยเกาะตางๆ 42 เกาะ ที่มีขนาดเล็กและขนาดกลางอยูเปนกลุมเกาะ
กลางทะเลในแนวเหนือ-ใต เปนเขาหินปูนสูงชันตั้งอยูในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี