Page 21 - Wetland Phetchaburi
P. 21

2-9





                              (3) เพิ่มเติมรายชื่อพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญเรงดวนสมควรไดรับการเสนอ

                  เปนแรมซารไซต จำนวน 4 แหง ไดแก พื้นที่ชุมน้ำกุดทิง จังหวัดบึงกาฬ เกาะระ เกาะพระทอง จังหวัดพังงา
                  เกาะกระ จังหวัดนครศรีธรรมราช และหาดทายเหมือง จังหวัดพังงา
                              (4) พื้นที่ชุมน้ำที่มีความจำเปนเรงดวนตองไดรับการคุมครอง โดยเพิ่มเติม หนองหลม

                  (ผนวกเพิ่มกับหนองบงคาย) พื้นที่ชุมน้ำลุมน้ำสงคราม (ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดอุดรธานี จังหวัดสกลนคร
                  จังหวัดนครพนมและจังหวัดหนองคาย) พื้นที่ชุมน้ำทุงมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พื้นที่ชุมน้ำวัด
                  หวยจันทร จังหวัดลพบุรี อาวไทยตอนใน (โดยเฉพาะดานตะวันตกแหลมผักเบี้ย บานปากทะเลและเขา
                  ตะเครา จังหวัดเพชรบุรี) ปากแมน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี เกาะสมุยและเกาะพงัน จังหวัดสุราษฎรธานี

                              (5) พื้นที่ชุมน้ำที่มีความจำเปนเรงดวนตองไดรับการฟนฟู โดยเพิ่มเติมพื้นที่ชุมน้ำ
                  จำนวน 12 แหง ไดแก พื้นที่ชุมน้ำหนองหลวง จังหวัดเชียงราย เขตหามลาสัตวปาดูนลำพัน จังหวัด
                  มหาสารคาม ลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย เขตหามลาสัตวปาวัดไผลอม จังหวัดปทุมธานี พื้นที่ชุมน้ำ
                  วัดอโศกการาม จังหวัดสมุทรปราการ เขตหามลาสัตวปาวัดตาลเอน และพื้นที่ชุมน้ำทุงมหาราช จังหวัด

                  พระนครศรีอยุธยา ทุงโพธิ์ทอง/ทุงคำหยาด จังหวัดอางทอง เขตหามลาสัตวปาบึงบอระเพ็ด จังหวัด
                  นครสวรรค ปากแมน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี อาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และพื้นที่ชุมน้ำพรุ
                  บานไมขาว จังหวัดภูเก็ต
                              (6) พื้นที่ชุมน้ำที่มีความจำเปนเรงดวนตองไดรับการศึกษาสำรวจ โดยเพิ่มเติมพื้นที่ชุม

                  น้ำจำนวน 9 แหง ไดแก เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานี (สัตวปา/ปลา) พื้นที่ชุมน้ำ
                  บริเวณลุมแมน้ำมูล (พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดสุรินทร และจังหวัดอุบลราชธานี) พื้นที่ชุมน้ำ
                  บริเวณลุมแมน้ำโขงตอนกลาง (ประชากร/ชนิดนก) ปากแมน้ำเวฬุและอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี
                  เขตหามลาสัตวปาเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร จังหวัด

                  กาญจนบุรี (สัตวน้ำ/ปลา) เกาะตาง อุทยานแหงชาติสิรินาถจังหวัดภูเก็ต ปาชายเลนปะเหลียน-ละงู
                  จังหวัดตรัง และพื้นที่ชุมน้ำพรุคันธุลี จังหวัดสุราษฎรธานี (ความหลากหลายทางชีวภาพ/ประชากร/ชนิดนก)
                            2) เห็นชอบตอมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ำ ดังนี้
                              (1) ประกาศกำหนดใหพื้นที่ชุมน้ำที่เปนที่สาธารณะทุกแหงทั่วประเทศโดยเฉพาะพื้นที่

                  ชุมน้ำแหลงน้ำจืดเปนพื้นที่สีเขียวและมิใหสวนราชการเขาไปใชประโยชน เพื่อสงวนไวเปนแหลงรองรับ
                  น้ำและกักเก็บน้ำตอไป
                              (2) ใหมีการสำรวจและตรวจสอบขอบเขตพื้นที่ชุมน้ำตามทะเบียนรายนามพื้นที่ชุมน้ำที่มี

                  ความสำคัญระดับทองถิ่นที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เพื่อเปนแหลง
                  รับน้ำตามธรรมชาติโดยเปนพื้นที่กักเก็บและชะลอการไหลของน้ำ เพื่อปองกันน้ำทวมและภัยแลง
                              (3) ใหมีการติดตาม ตรวจสอบและดำรงรักษาพื้นที่ชุมน้ำตามทะเบียนรายนามพื้นที่ชุม
                  น้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่น เพื่อสงวนไวเปนแหลงรองรับน้ำตามธรรมชาติโดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นที่
                  ชุมน้ำที่ไดรับการขึ้นทะเบียนเปนแหลงน้ำสาธารณประโยชน ตลอดจนควบคุมและปองกันการบุกรุกเขาใช

                  ประโยชนที่จะสงผลกระทบตอพื้นที่ชุมน้ำที่เปนพื้นที่สาธารณประโยชน
                              (4) ใหสรางจิตสำนึกและปลูกฝงความรู ความเขาใจในคุณคาและความสำคัญ และการ
                  ใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ำอยางยั่งยืนแกทุกภาคสวนและประชาชนทุกระดับ และใหชุมชนมีสวนรวม

                  ในการวางแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26