Page 22 - Wetland Phetchaburi
P. 22

2-10





                              (5) ใหนำเสนอพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติเปนพื้นที่ชุมน้ำ

                  ที่มีความสำคัญระหวางประเทศ ภายใตอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ (Ramsar Convention)
                              (6) ประกาศใหพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติ เปนเขตหาม
                  ลาสัตวปา หรือพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม หรือพื้นที่อนุรักษในลักษณะอื่น

                              (7) เรงรัดใหออกหนังสือสำคัญที่หลวงในกรณีที่พื้นที่ชุมน้ำมีความสำคัญระดับ
                  นานาชาติและระดับชาติเปนที่สาธารณประโยชน และเรงใหดำเนินการจัดทำแนวเขตที่ชัดเจนเพื่อ
                  ปองกันปญหาการบุกรุกโดยไมใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศของพื้นที่ชุมน้ำ
                              (8) ใหมีการฟนฟูระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติที่

                  เสื่อมโทรมและตองการการปรับปรุงโดยดวน เพื่อใหพื้นที่ชุมน้ำนั้นสามารถดำรงบทบาทหนาที่ทาง
                  นิเวศวิทยาและอุทกวิทยาไดตามธรรมชาติ
                              (9) ใหมีการจัดทำแผนการจัดการพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและ
                  ระดับชาติ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อคุมครอง ฟนฟูพื้นที่ชุมน้ำ โดยมีการแบงเขตการใช

                  ประโยชนพื้นที่เปนเขตอนุรักษและเขตพัฒนา พรอมทั้งกำหนดแนวเขตกันชนพื้นที่ ตลอดจนกำหนด
                  กิจกรรมที่สามารถกระทำไดและหามกระทำในพื้นที่
                              (10)  ใหมีจัดทำรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) สำหรับโครงการ
                  หรือกิจกรรมที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตามประกาศที่ออกตามมาตรา 46 แหง พรบ.สงเสริมและรักษา

                  คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535
                              (11)  ใหมีการศึกษาวิจัยระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและ
                  ระดับชาติและเผยแพรขอมูลแกสาธารณชนอยางตอเนื่อง
                              (12)  ติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ

                  ระดับนานาชาติและระดับชาติอยางตอเนื่อง โดยมีการกำหนดปจจัยหรือดัชนีชี้วัดที่ชัดเจน
                              (13)  ใหมีการศึกษาสำรวจพื้นที่ชุมน้ำและความหลากหลายทางชีวภาพอยางตอเนื่องเพื่อ
                  ปรับปรุงและแกไขเพิ่มเติมทะเบียนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติตามเกณฑ
                              (14)  ใหมีการควบคุมและปองกันมลพิษจากแหลงกำเนิดประเภทตางๆ ไดแก ชุมชน

                  อุตสาหกรรม เกษตรกรรมและกิจกรรมอื่นๆ
                            (15)  ใหมีการควบคุมปองกันไฟปาในพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและ
                  ระดับชาติที่อาจเกิดจากชุมชน หรือเกิดจากกิจกรรมอื่นๆ โดยมีมาตรการดังนี้

                                  1. มาตรการปองกันไฟปา
                                      - ใหดำเนินการควบคุมระดับน้ำของปาชุมน้ำใหคงที่
                                      - ทำแนวกันไฟเปยก (wet-line firebreak) ตามแนวพระราชดำริ
                                      - ประชาสัมพันธเชิงรุกทุกรูปแบบ เพื่อสรางจิตสำนึกและความเขาใจกับ
                  ชุมชนถึงอันตรายจากไฟปา เปนผลใหชุมชนยุติการจุดไฟเผาปา

                                  2. มาตรการดับไฟปา
                                      - จัดตั้งสถานีควบคุมไฟปาพื้นที่ เพื่อทำหนาที่กำกับ ดูแลและดำเนินการ
                  ควบคุมไฟปาในพื้นที่ชุมน้ำที่สำคัญ

                                      - ฝกอบรมเจาหนาที่ปาไมใหปฏิบัติงานดับไฟปาในพื้นที่ชุมน้ำ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27