Page 19 - Wetland Phetchaburi
P. 19

2-7





                              (15)  พื้นที่ชุมน้ำแมน้ำสงครามตอนลาง

                                  มีขอบเขตเริ่มตั้งแตปากน้ำบานไชยบุรี ตำบลไชยบุรี อำเภอทาอุเทน จังหวัด
                  นครพนม ไปจนถึงบานปากยาม ตำบลสามผง อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม ความยาวทั้งสิ้น
                  92 กิโลเมตร นับเปนแรมซารไซต ลำดับที่ 15 ของประเทศไทย และเปนแรมซารไซต ลำดับที่ 2,420

                  ของโลก มีผลอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 ครอบคลุมเฉพาะสวนที่เปนตัวแมน้ำ
                  สงครามตอนลาง และพื้นที่ปาบุงปาทามที่ติดกับสองฝงแมน้ำ และพื้นที่ปาสาธารณะ หรือปาบุงปาทาม
                  ที่ผูนำชุมชนและคณะกรรมการหมูบานเห็นชอบ และไมมีพื้นที่ทับซอนกับพื้นที่เอกสารสิทธิ์ของราษฎร
                  รวมทั้งพื้นที่การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) พื้นที่สาธารณะตามหนังสือสำคัญสำหรับที่

                  หลวง (นสล.) รวมพื้นที่ที่เสนอเปนแรมซารไซตทั้งหมด 34,381 ไร มีความหลากหลายของระบบนิเวศ
                  ปาที่พบในบริเวณลุมน้ำนี้ประกอบดวย ปาบึงน้ำจืดหรือปาบุง-ทาม (freshwater swamp forest)
                  ปาเต็งรัง (dry dipterocarp forest) และปาดิบแลง (dry dipterocarp forest) บนเขาหินทรายและที่
                  ราบลุม พบพืชหายาก รวม 7 ชนิด เชน กระโดนเบี้ย (Careya herbacea Roxb.) ตะแบกทามหรือ

                  เปอยน้ำ (Lagerstroemia spireana Gagnep.) และไชยวาน (Cephalanthus tetrandra (Roxb.)
                  Ridsdale & Bakh.f.) เปนตน พบวา มีสัตวปาที่มีสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุ (VU) 3 ชนิด คือ
                  เตานา (Malayemys subtrijuga) เตาดำ (Siebenrockiella crassicollis) และตะพาบน้ำ (Amyda
                  cartilaginea) และพบปลาจำนวน 183 ชนิด ชนิดที่เปนพันธุเฉพาะถิ่น (Endemic) เชน ปลากระเบน

                  แมน้ำโขง (Dasyatis laosensis) ปลาตองลาย (Chitala blanci) และปลาหมากผาง (Tenualosa
                  thibaudeaui) เปนตน ชนิดพันธุที่อยูในสถานภาพใกลสูญพันธุ (Endangered) เชน ปลากระเบนแมน้ำโขง
                  (Dasyatis laosensis) ปลาตองลาย (Chitala blanci) และปลากระโห (Catlocarpio siamensis)
                      2.1.2 ขอดีในการเขารวมอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำของประเทศไทย

                          1) อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ำ เปนขอตกลงระหวางประเทศที่มีความสำคัญเกี่ยวกับ
                  การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในบริเวณพื้นที่ชุมน้ำเปนสำคัญ ขณะเดียวกันอนุสัญญาฯ
                  ยังสามารถเชื่อมโยงกับอนุสัญญาดานการอนุรักษและการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน
                  เชน อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity : CBD)

                  อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework
                  Convention on Climate Change : UNFCCC) และอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิด
                  สัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ (Convention on International Trade in Endangered Species

                  of Wild Fauna and Flora : CITES)
                          2) การเปนภาคีทำใหมีโอกาสเขารวมแสดงความคิดเห็นกับนานาประเทศในการประชุม
                  เพื่อพิจารณาหลักเกณฑการอนุรักษและใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ำอยางชาญฉลาด
                          3) เปนการนำพื้นที่ชุมน้ำสำคัญของประเทศ เขาไปในทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุมน้ำที่มี
                  ความสำคัญระดับประเทศ (Ramsar Site)

                          4) การเปนภาคีทำใหประเทศตางๆ ไดรับขาวสารขอมูลและคำแนะนำที่ทันสมัยรวมถึง
                  ขอคิดเห็นตางๆ
                          5) ภาคีสามารถเสนอขอรับการชวยเหลือจากตางประเทศหรือเงินกองทุน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24