Page 20 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 20

2-6





                  ไมใชตางฝายตางทำ จะตองอาศัยการประสานงานและความรวมมืออยางดียิ่ง ไมเชนนั้นแผนที่วางไว

                  อาจไมบรรลุเปาหมาย
                            4) การวางแผนการใชที่ดินเกี่ยวของกับหลายสาขา การวางแผนการใชที่ดินเปนการทำงาน
                  เกี่ยวกับที่ดินและการใชที่ดินทั้งหมด ซึ่งจำเปนตองเกี่ยวของกับหลายสาขา เชน ทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ

                  ดานวิศวกรรม ดานการเกษตรสิ่งแวดลอม และดานเศรษฐกิจและสังคม เปนตน โดยทั่ว ๆ ไปแลวกระทรวงตาง ๆ
                  ที่เกี่ยวของจะตองสนับสนุนกรรมวิธีในการวางแผนและการปฏิบัติตามใหเปนไปตามแผน
                            5) ความตองการของมนุษยกระตุนใหเกิดกระบวนการวางแผน ความตองการ
                  ของมนุษยอาจถูกกำหนดโดยกลุมงานแผนที่เขาไปสัมผัสกับประชาชนในทองถิ่นโดยตรง

                  หรืออาจถูกกำหนดขึ้นโดยนโยบายของรัฐบาล หรือในแผนพัฒนาเศรษฐกิจละสังคมแหงชาติ
                  ความตองการของมนุษยมีเพิ่มขึ้นทุก ๆ ป เนื่องจากจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น แตที่ดินที่มีอยูมีจำกัด
                  การวางแผนการใชที่ดินใหเหมาะสมและการเพิ่มประสิทธิภาพของที่ดิน จะเปนหนทางหนึ่ง
                  ที่ชวยตอบสนองความตองการของมนุษยที่เพิ่มขึ้นได

                            6) แผนการใชที่ดินเปนการวางแผนตามลำดับขั้น การวางแผนการใชที่ดินอาจทำไดโดย
                  การวางแผนจากเบื้องตนมาสูเบื้องลาง โดยผูบริหารระดับสูงเปนผูกำหนดแผน หรืออาจจะวางจากระดับลาง
                  ขึ้นไปสูระดับบน ซึ่งผูใชที่ดินและเจาหนาที่ของรัฐในทองถิ่นมีสวนรวมในการทำแผน โดยเปนผูศึกษา
                  ขอมูลและปญหาทองถิ่น แลวเสนอแผนขึ้นมาสูผูบริหารระดับสูง

                            7) แผนการใชที่ดินสามารถเปลี่ยนแปลงได แผนการใชที่ดินสามารถเปลี่ยนแปลงได
                  เมื่อสถานการณมีการเปลี่ยนแปลงไปหรือไดรับขอมูลใหม การติดตามและประเมินผลถูกนำมาใช
                  ในการวิเคราะหดูการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและปญหาที่ตองทำใหปรับปรุงแผนใหม ดังนั้น การวางแผน
                  จึงเปนขบวนการที่ไมหยุดนิ่งและหมุนเวียนตลอดเวลา

                            8) แผนการใชที่ดินตองมีลักษณะผสมผสานในภาพรวมเดียวกัน แผนการใชที่ดิน
                  ที่กำหนดออกมาจะตองมีหลายทางเลือก ที่ดินที่เหมาะสำหรับการใชที่ดินประเภทหนึ่ง อาจจะเหมาะ
                  สำหรับการใชประโยชนที่ดินอีกประเภทหนึ่งก็ได การมีทางเลือกการใชที่ดินหลาย ๆ ทางจะทำให
                  สามารถตอบสนองความตองการในการใชที่ดินไดทั้งปจจุบันและอนาคต

                        2.1.9 ขั้นตอนในการวางแผนการใชที่ดิน
                            การวางแผนการใชที่ดินจะตองมีองคประกอบที่สำคัญ ประชาน ที่ดิน และองคกรตาง ๆ
                            ประชาชนและความตองการ เปนองคประกอบอันหนึ่งของการวางแผนการใชที่ดิน

                  เปนทั้งผูเอื้ออำนวยใหมีการวางแผนและเปนผูดำเนินการตามแผน ความตองการของประชาชน
                  โดยทั่วไป มักเกี่ยวของกับปจจัยที่สำคัญตอการดำรงชีวิต ไดแก อาหาร น้ำ ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค
                  ซึ่งความตองการในสิ่งเหลานี้มีผลทำใหเกิดความขัดแยงและวิธีการใชที่ดิน
                            ที่ดิน หมายถึง พื้นที่ผิวโลกทั้งที่อยูบนบกและสวนที่อยูในน้ำ หรือหมายถึงสวนประกอบตาง ๆ
                  ทางกายภาพของสิ่งแวดลอมทั้งหมด ความหมายตามประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับปรับปรุงใหม

                  พ.ศ. 2526) ที่ดิน หมายถึง “พื้นที่ดินทั่วไป และใหความหมายรวมถึง ภูเขา หวย หนอง คลอง บึง บาง
                  ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเลดวย”
                            องคกร หมายถึง หนวยงานหรือตัวแทนตาง ๆ ของรัฐ ซึ่งสามารถตอบสนอง

                  ตอการดำเนินการวาง แผนการใชที่ดิน บุคลากรในองคกรจะเปนผูที่ทำใหงานองคกรสามารถดำเนินการไปได





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25