Page 21 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 21

2-7





                  บุคลากรในองคกรจะตองประกอบไปดวย ผูมีอำนาจในการตัดสินใจและสามารถปรับปรุงแผนได

                  ตองมีนักวางแผนซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญสามารถดำเนินไดตามที่ผูมีอำนาจในการตัดสินใจมอบหมาย
                  และเปนผูปฎิบัติกรรมวิธีการวางแผน และควรมีบุคคลอีก 2 คน หรือมากกวานั้น ที่มีความชำนาญ
                  ที่จะมาชวยในการวางแผน นักวางแผนจะเปนผูคัดเลือกกลุมหรือคณะที่จะมาชวยดำเนินการ

                  ในการวางแผนการใชที่ดิน โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความชำนาญในสาขาตาง ๆ สำหรับขั้นตอน
                  ในการวางแผนการใชที่ดินมีดังตอไปนี้
                            1) ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนโครงการเพื่อจัดทำแผน
                            ในการวางแผนการใชที่ดินโครงการใดโครงการหนึ่ง จำเปนตองวางแผนในการดำเนินการ

                  ใหเหมาะสม โดยมีการปรึกษาหารือระหวางบุคคลที่เกี่ยวของในการจัดทำแผน ในการวางแผนโครงการ
                  เพื่อจัดทำแผนจะตองมีรายละเอียดที่ตองดำเนินการ ดังนี้ (1) กำหนดพื้นที่ที่จะทำการวางแผน
                  ซึ่งประกอบไปดวยที่ตั้ง ขนาดขอบเขตของพื้นที่เสนทางในการเขาพื้นที่ และเหตุผลที่ตองเขาไป
                  ดำเนินการวางแผนในพื้นที่ที่กำหนดไว เพื่อใหผูที่มีอำนาจตัดสินใจในการอนุมัติโครงการ มีขอมูล

                  เพียงพอที่จะอนุมัติโครงการ (2) กำหนดเปาหมายและวัตถุประสงคของโครงการใหเดนชัด
                  เพื่อจะไดกำหนดกิจกรรมในการดำเนินงานไดถูกตอง ผลการวางแผนที่ออกมาจะตอบสนอง
                  ตอวัตถุประสงคและเปาหมายที่กำหนดไว (3) กำหนดกรอบของแผนและระดับของแผน
                  จะตองวางกรอบโครงรางของใหเดนชัดวา Output ที่ออกมา คืออะไร ใครคือผูใชแผน

                  ตองการความละเอียดของแผนมากนอยแคไหน จะไดกำหนดระดับขอบแผนไดถูกตอง
                  (4) กำหนดชวงระยะเวลาในการดำเนินงาน การจัดการแผนการใชที่ดินจะตองกำหนดระยะเวลาในการ
                  ดำเนินงานใหแนนอน อาจจะเปน 1 ป 2 ป หรือ 5 ป แตระยะเวลาในการดำเนินการไมควรยาวนานมากนัก
                  เพราะอาจจะแกไขปญหาไมทันเหตุการณ (5) จัดทำงบประมาณและเตรียมกำลังในการดำเนินการ

                  งบประมาณในการจัดทำแผนจะตองมีรายละเอียดอยางเดนชัดวา มีคาใชจายอะไรบาง จะตองใชปละเทาใด
                  ทั้งโครงการจะตองใชคาใชจายเทาไหร และวางแผนใชเงินที่เหมาะสม นอกจากนี้ตองพิจารณาวา
                  อัตรากำลังคนที่มีอยูเพียงพอหรือไมกับปริมาณงานและระยะเวลาที่กำหนดไว ถาไมพอจะตองใช
                  กำลังคนเพิ่มเทาใด

                            2) ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจน
                  ความตองการของทองถิ่น แผนพัฒนาทองถิ่นและนโยบายของรัฐ ขอมูลทางกายภาพที่ศึกษาไดแก
                  สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำสภาพการใชที่ดินเปนตน ขอมูล

                  ทางดานเศรษฐกิจและสังคมที่ศึกษาไดแก ลักษณะทั่วไปของประชากร การถือครองที่ดินเพื่อการเกษตร
                  ปริมาณและสภาพการผลิตทางการเกษตร แรงงานที่ใชในการเกษตร การศึกษาฯลฯ ขอมูลเหลานี้
                  จำเปนตองศึกษาอยางละเอียด เพื่อใหทราบขอมูลพื้นฐานของพื้นที่ สภาพปญหา สาเหตุของปญหา
                  จะไดนำมาพิจารณาหาแนวทางแกไข การศึกษาความตองการทองถิ่น แผนพัฒนาทองถิ่น
                  จะทำใหนักวางแผนทราบวาคนในชุมชนนั้นตองการอะไร และตองการพัฒนาอะไร จะไดนำไปพิจารณา

                  กำหนดแผนใหสามารถตอบสนองตอความตองการนั้นๆ แผนที่กำหนดขึ้นมาอาจจะแกไขปญหาไดไมหมด
                  แตก็มีทางเลือกอื่นๆ ใหคนในชุมชนนั้นๆ ไดตัดสินใจดวยความมั่นใจวา สิ่งที่จะพัฒนานั้นมีความเปนไปได
                  ที่จะประสบความสำเร็จสูง ลดการเสี่ยงนอกจากนี้การที่ใหคนในชุมชนไดมีสวนรวมในการจัดทำแผน

                  โอกาสในการยอมรับแผนที่กำหนดขึ้นมาก็มีสูง การนำนโยบายของรัฐไปสูแผนเปนสิ่งที่จำเปนอยางยิ่ง





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26