Page 22 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 22

2-8





                  แผนที่กำหนดขึ้นมาจะตองตอบสนองตอนโยบายของรัฐ แผนนั้นจึงจะมีความเปนไปไดสูงในการนำไปสู

                  การปฏิบัติ
                            3) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคาที่ดิน การประเมินคาที่ดินประกอบดวย การประเมิน
                  ความเหมาะสมของที่ดินดานกายภาพ และการประเมินคาที่ดินทางเศรษฐกิจ

                            การประเมินความเหมาะสมของที่ดินทางดานกายภาพ เปนการพิจารณาศักยภาพ
                  ของหนวยที่ดินตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ ในระดับการจัดการที่แตกตางกัน ทำใหทราบวา
                  ที่ดินแตละหนวยมีความเหมาะสมมากนอยเพียงใด หรือไมเหมาะสมตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ
                            การประเมินคาที่ดินทางเศรษฐกิจ เปนการประเมินดานปริมาณ ซึ่งจะใหคำตอบ

                  ในดานผลผลิตที่ไดรับ ตัวเงินในการลงทุน ตัวเงินจากผลตอบแทนที่ไดรับผลจากการประเมินนักวางแผน
                  สามารถนำมาพิจารณากำหนดทางเลือกการใชที่ดินเหมาะสมไดหลาย ๆ ทาง
                            4) ขั้นตอนที่ 4 กำหนดแผนการใชที่ดิน
                            จากผลการศึกษาและวิเคราะหขอมูลทางกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม

                  ตลอดจนการประเมินคุณภาพที่ดิน ไดนำขอมูลเหลานี้มาใชพิจารณากำหนดเขตการใชที่ดิน
                  โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหการใชที่ดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ บังเกิดประโยชนตอหนวยพื้นที่สูงสุด
                  เทาที่เปนไปไดแผนการใชที่ดินที่กำหนดขึ้น จำเปนตองกำหนดทิศทางใหเปนไปตามเปาหมาย
                  และวัตถุประสงคที่กำหนดไว จะตองแสดงทางเลือกการใชประโยชนที่ดินหลาย ๆ ทาง

                  พรอมทั้งแนวทางจัดการในแตละเขตการใชที่ดิน
                            5) ขั้นตอนที่ 5เผยแพรแผนและนำแผนไปสูการปฏิบัติ
                            เพื่อใหแผนการใชที่ดินที่กำหนดไวถูกนำไปปฏิบัติ จำเปนตองเผยแพรผลงานสูหนวยงาน
                  ของรัฐที่เกี่ยวของ หนวยงานของรัฐจะเปนผูปฏิบัติหรือเผยแพรสูประชาชน ใหประชาชนเปนผูปฏิบัติ

                  อีกทอดหนึ่งการนำแผนไปสูการปฏิบัตินั้น เปนหนาที่ของผูตัดสินใจ หนวยงานผูปฏิบัติการและ
                  ประชาชนในพื้นที่ หนวยผูปฏิบัติในพื้นที่ หนวยงานผูปฏิบัติในพื้นที่จะตองเปนผูจัดทำแผนการปฏิบัติ
                  โดยใหประชาชนในพื้นที่มีสวนรวมในการวางแผนดวย แลวนำเสนอผูมีอำนาจในการตัดสินใจอนุมัติแผน
                  ผูตัดสินใจจะตองหางบประมาณใหแกหนวยงานที่อยูใตบังคับบัญชาไปดำเนินการ บางครั้งผูมีอำนาจ

                  ในการตัดสินใจจะเปนผูจัดทำแผนการปฏิบัติ พรอมทั้งหางบประมาณ แลวสั่งการใหผูใตบังคับบัญชา
                  ไปดำเนินการ ซึ่งวิธีการหลังนี้ประชาชนในพื้นที่อาจจะไมยอมรับแผนปฏิบัติก็ได
                            6) ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบการประเมินผลและการปรับปรุงแผน

                            เมื่อแผนการใชที่ดินถูกนำไปปฏิบัติแลว ควรมีการตรวจสอบและประเมินผลวา แผนการใชที่ดิน
                  ที่กำหนดไว สามารถนำไปปฏิบัติไดแคไหน เปนไปตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่ตั้งไวหรือไมมีปญหาอะไร
                  ในการนำแผนไปปฏิบัติ ผลที่ตอบแทนที่ไดรับมีมากนอยเพียงใด มีสิ่งใดที่จะตองแกไขบางถาแผนที่
                  กำหนดขึ้นมาสามารถนำไปปฏิบัติไดนอยหรือไมสามารถนำไปปฏิบัติ ก็จำเปนตองมีการแกไขปรับปรุงแผน
                  (บัณฑิต, 2535)














                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27