Page 24 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 24

2-10





                  2.2 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System: GIS)

                        ความหมายของคำวา “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ( Geographic Information System : GIS )”
                  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการทำงาน

                  เกี่ยวกับขอมูลในเชิงพื้นที่ดวยระบบคอมพิวเตอร ที่ใชกำหนดขอมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ
                  กับตำแหนงในเชิงพื้นที่ เชน ที่อยู บานเลขที่ สัมพันธกับตำแหนงในแผนที่ ตำแหนง เสนรุง เสนแวง
                  ขอมูลและแผนที่ใน GIS เปนระบบขอมูลสารสนเทศที่อยูในรูปของตารางขอมูล และฐานขอมูลที่มีสวนสัมพันธ
                  กับขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธของขอมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย

                  จะสามารถนำมาวิเคราะหดวย GIS และทำใหสื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธกับเวลาได
                  เชน การแพรขยายของโรคระบาด การเคลื่อนยาย ถิ่นฐาน การบุกรุกทำลาย การเปลี่ยนแปลงของการใชพื้นที่
                  ฯลฯ ขอมูลเหลานี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทำใหสามารถแปลและสื่อความหมาย ใชงานไดงาย
                  (ศรินยา, 2554)

                        GIS เปนระบบขอมูลขาวสารที่เก็บไวในคอมพิวเตอร แตสามารถแปลความหมายเชื่อมโยง
                  กับสภาพภูมิศาสตรอื่น ๆ สภาพทองที่ สภาพการทำงานของระบบสัมพันธกับสัดสวนระยะทาง
                  และพื้นที่จริงบนแผนที่ ขอแตกตางระหวาง GIS กับ MIS นั้นสามารถพิจารณาไดจากลักษณะของขอมูล
                  คือ ขอมูลที่จัดเก็บใน GIS มีลักษณะเปนขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ที่แสดงในรูปของภาพ

                  (graphic) แผนที่ (map) ที่เชื่อมโยงกับขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) หรือฐานขอมูล
                  (Database)การเชื่อมโยงขอมูลทั้งสองประเภทเขาดวยกัน จะทำใหผูใชสามารถที่จะแสดงขอมูลทั้งสอง
                  ประเภทไดพรอม ๆ กัน เชนสามารถจะคนหาตำแหนงของจุดตรวจวัดควันดำ – ควันขาวไดโดยการระบุ

                  ชื่อจุดตรวจ หรือในทางตรงกันขาม สามารถที่จะสอบถามรายละเอียดของ จุดตรวจจากตำแหนงที่เลือกขึ้นมา
                  ซึ่งจะตางจาก MIS ที่แสดง ภาพเพียงอยางเดียว โดยจะขาดการเชื่อมโยงกับฐานขอมูลที่เชื่อมโยงกับ
                  รูปภาพนั้น เชนใน CAD (Computer Aid Design) จะเปนภาพเพียงอยางเดียว แตแผนที่ใน GIS
                  จะมีความสัมพันธกับตำแหนงในเชิงพื้นที่ทางภูมิศาสตร คือคาพิกัดที่แนนอน ขอมูลใน GIS
                  ทั้งขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูลเชิงบรรยาย สามารถอางอิงถึงตำแหนงที่มีอยูจริงบนพื้นโลกไดโดยอาศัย

                  ระบบพิกัดทางภูมิศาสตร (Geocode) ซึ่งจะสามารถอางอิงไดทั้งทางตรงและทางออม ขอมูลใน GIS
                  ที่อางอิงกับพื้นผิวโลกโดยตรง หมายถึง ขอมูลที่มีคาพิกัดหรือมีตำแหนงจริงบนพื้นโลกหรือในแผนที่ เชน
                  ตำแหนงอาคาร ถนน ฯลฯ สำหรับขอมูล GIS ที่จะอางอิงกับขอมูลบนพื้นโลกไดโดยทางออมไดแก

                  ขอมูลของบาน (รวมถึงบานเลขที่ ซอย เขต แขวง จังหวัด และรหัสไปรษณีย) โดยจากขอมูลที่อยู
                  เราสามารถทราบไดวาบานหลังนี้มีตำแหนงอยู ณ ที่ใดบนพื้นโลก เนื่องจากบานทุกหลังจะมีที่อยูไมซ้ำกัน























                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29