Page 16 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 16

2-2





                  ของสังคมหรือนโยบายที่เลี่ยงไมได การวางแผนการใชที่ดินจะตองวางใหเหมาะกับสถานการณในปจจุบัน

                  โดยทั่ว ๆ ไปแลวการวางแผนการใชที่ดินที่จะใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจำกัดใหเกิดประโยชน
                  มากที่สุดมีจุดมุงหมายดังนี้ (1) ประเมินความตองการในปจจุบันและอนาคต และกำหนดรูปแบบ
                  การประเมินความเหมาะสมของที่ดินที่จะสนองตอความตองการ (2) แยกแยะหรือแจกแจงขอขัดแยง

                  ระหวางการใชที่ดินตางประเภทกัน (3) วิเคราะหหาทางเลือกการใชที่ดินที่คงทนถาวร ทางเลือกเหลานี้
                  จะตองเปนทางเลือกที่ (4) ดีที่สุดที่ตรงกับความตองการของทองถิ่นนั้น ๆ (5) วางแผนใหสามารถ
                  เกิดความตองการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน และ (6) เรียนรูจากสิ่งที่ผิดพลาดมากอน (บัณฑิต, 2535)
                        2.1.2 ประโยชนของการวางแผนการใชที่ดิน คือ (1) เปนแนวทางในการใชที่ดิน

                  อยางมีประสิทธิภาพ และมีความเชื่อมั่นสูง (2) สามารถลดระดับความเสี่ยงในดานตาง ๆ ใหนอยลงมากที่สุด
                  (3) สามารถคาดคะเนปริมาณของผลผลิตการเกษตรไดลวงหนา เปนผลดีตอการจัดหาตลาดรองรับ
                  ตลอดจนอุตสาหกรรมการแปรรูปผลิตผลการเกษตร (4) สามารถเลือกระบบปลูกพืชตามลำดับ
                  ความสำคัญ และความเหมาะสมได (5) เปนขอมูลพื้นฐานในการสรางระบบเกษตรกรครบวงจร

                  (6) ทำใหการควบคุมโรคแมลงไดผล โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับกวาง (7) เปนประโยชนในการพิจารณา
                  สรางระบบสาธารณูปโภครวมทั้งจัดระบบชลประทาน และ (8) เปนแนวทางสำหรับหนวยงานของรัฐ
                  ใชในการวางแผนพัฒนาโครงการตาง ๆ กำหนดนโยบายการใชที่ดินในระดับรัฐและระดับทองถิ่น
                        2.1.3 ทำไมตองมีแผนการใชที่ดิน การที่ตองมีแผนการใชที่ดินเกิดจาก 2 สาเหตุดวยกัน คือ

                            1) ความตองการของมนุษย ความตองการพื้นฐานของมนุษย ไดแก อาหาร น้ำ พลังงาน
                  เสื้อผา และที่พักอาศัย สิ่งตาง ๆ เหลานี้พบวามาจากที่ดินทั้งนั้น ที่ดินเปนตัวจำกัดการใหสิ่งเหลานี้
                  ในขณะที่ประชากรและความตองการของมนุษยเพิ่มขึ้นทุก ๆ ป แตที่ดีที่เหมาะสมกับหายากเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
                  ดังจะเห็นไดวาในปจจุบันความตองการใชที่ดินเพื่อการกสิกรรม ทุงหญาเลี้ยงสัตว ปาไม ที่อยูสำหรับสัตวปา

                  การทองเที่ยว และการพัฒนาชุมชน ฯลฯ มีมากกวาทรัพยากรที่ดินที่จะเปนประโยชนในแตละกิจกรรม
                  การวางแผนการใชที่ดินใหเหมาะสมและการเพิ่มประสิทธิภาพของที่ดิน จะเปนหนทางหนึ่ง
                  ในการตอบสนองความตองการพื้นฐานของมนุษยเพิ่มขึ้น
                            2) ความขัดแยงในการใชที่ดิน การใชที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อมนุษยมีความตองการใหม ๆ

                  เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน หรือการใชที่ดินตางประเภทกับจะกอใหเกิดความขัดแยง
                  กับระหวางผูใชประโยชนจากที่ดินนั้นๆ ตัวอยาง เชน พื้นที่เดิมเคยเปนพื้นที่เกษตร เมื่อมนุษย
                  มีความตองการสรางโรงงานอุตสาหกรรม จะเปนอันตรายตอพืชที่ปลูก เชน น้ำเสีย เปนตน หรือเรามักพบวา

                  การใชพื้นที่ดานการเกษตรมักจะขัดแยงกับการใชพื้นที่ดานปาไม ความตองการใชพื้นที่เพื่อการเกษตร
                  ที่เพิ่มขึ้นเกษตรกรจะไปบุกรุกพื้นที่ปาไม ทำใหพื้นที่ปาไมลดลง
                        2.1.4 เปาหมายของการวางแผนการใชที่ดิน เปาหมายในที่นี้หมายถึง การใชที่ดิน
                  ที่ใหประโยชนมากที่สุด เปาหมายของการวางแผนจึงตองประกอบดวย 3 สิ่งดวยกันคือ
                            1) ประสิทธิภาพ ถาจะมองระยะยาว ๆ การใชที่ดินจะตองใหไดประโยชนสูงสุดและเปนที่

                  ยอมรับของสังคมเปาหมายอันหนึ่งของการพัฒนาคือ การเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตจากการใชที่ดิน
                  ที่ดินไมจำเปนตองเหมือนกันทั้งหมด ที่ดินแหงนี้อาจจะเหมาะกับกิจกรรม ก. มากกวา กิจกรรม ข.
                  ที่ดินอีกแหงอาจจะเหมาะกับกิจกรรม ข. มากกวากิจกรรม ก. การจะตัดสินใจวาการใชที่ดินประเภทใด

                  เหมาะสมที่สุดสำหรับที่ดินบริเวณนั้น ใหพิจารณาจากประสิทธิภาพจากการใชที่ดิน ประสิทธิภาพ





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21