Page 13 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 13

1-3





                  แผนที่สภาพการใชที่ดิน แผนที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร แผนที่โครงการชลประทาน แผนที่เขตนิคมสหกรณ

                  และแผนที่ชั้นน้ำฝนของประเทศไทยระหวางป พ.ศ. 2535-2564 เปนตน
                        1.4.2 การนำเขาและจัดทำฐานขอมูล

                            การสรางแบบจำลองเพื่อชวยวิเคราะหและกำหนดเขตการใชที่ดิน จำเปนตองมีขอมูล
                  ที่เปนมาตรฐานเดียวกันตามที่กำหนดเพื่อใหการวิเคราะหตามแบบจำลองเปนไปอยางอัตโนมัติ
                  โดยการจัดทำฐานขอมูลมีรายละเอียดดังนี้
                            1) ออกแบบโดยสรางฐานขอมูลทั้งขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูลเชิงอรรถธิบาย
                  ที่มีการลดความซ้ำซอนของขอมูล (Normalization) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะหขอมูล

                            2) จัดทำพจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary) และรายละเอียดขอมูล (Metadata)
                  เพื่อใชอธิบายฐานขอมูลที่สรางขึ้น
                            3) ตรวจสอบและแกไขขอมูลเชิงพื้นที่ใหมีคา Fuzzy Tolerance ที่เหมาะสม
                  ในการวิเคราะหและคุณลักษณะของขอมูลเชิงพื้นที่จากกับฐานขอมูลเชิงอรรถธิบาย

                        1.4.3 การจัดสรางแบบจำลองตามกระบวนการของแผนการใชที่ดิน
                            เพื่อเปนการออกแบบระบบที่ใชในแบบจำลอง สำหรับการโปรแกรมดวย Model Builder
                  ตามที่ไดวิเคราะหขั้นตอนกระบวนการวางแผนการใชที่ดิน
                            1) สรางแผนผัง (work flow) ของกระบวนการวางแผนการใชที่ดิน

                            2) สรางกระแสการไหลของขอมูล (Data Flow Diagram) จากแผนผังการทำงาน (work flow)
                            3) กำหนดวิธีการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ที่ใชในโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และ
                  คาขอมูลเชิงพื้นที่ตาง ๆ ที่ยอมรับได (Threshold) ตามมาตราสวนที่กำหนด
                            4) สรางแบบจำลองดาน Model Builder ตามกระบวนการที่ไดกำหนดและทดลอบการ

                  ทำงานและผลลัพธ
                        1.4.4 การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในสนาม
                            1) กำหนดจุดที่ตองการตรวจสอบความถูกตอง
                            2) จัดเตรียมแผนที่โดยนำแผนการใชที่ดินที่วิเคราะหแลวมาซอนทับกับแผนที่

                  ภูมิประเทศ และ/หรือแผนที่ออรโธสี
                            3) ออกสำรวจความถูกตองโดยกำหนดจุดและสอบถามจากผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่
                            4) ปรับแกไขแผนการใชที่ดินใหมีความถูกตองสอดคลองกับสภาพพื้นที่จริง และมีความถูกตอง

                        1.4.5 การจัดทำรายงานและแผนที่
                            นำขอมูลที่ไดจากการตรวจสอบในภาคสนามมา และทำการแกไขทำการจัดทำแผนที่
                  พรอมรายงาน


















                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18