Page 156 - Phetchaburi
P. 156

3-80





                           2) ทังสเตน

                           แรที่พบเปนทังสเตนชนิดวุลแฟรไมตมีสูตรทางเคมี (Fe,Mn)WO4 การเกิดของทังสเตนมักมี
                  ความสัมพันธกับมวลหินแกรนิต โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณที่เปนรอยสัมผัสของหินแกรนิตกับหินอื่นสวนใหญ
                  มักเกิดในสายแรควอตซชนิดอุณหภูมิสูงหรือสายเพกมาไทตซึ่งสายแรตัดผานในหินแกรนิต ประโยชน

                  ของทังสเตน คือ นํามาถลุงเอาโลหะทังสเตน ซึ่งมีความสำคัญตออุตสาหกรรมหนัก ใชในการทำ
                  เครื่องมือหรืออุปกรณที่ทนความรอนสูง ทำเครื่องจักรกล หัวเจาะเกราะ ใบมีด ตะไบ ไสหลอดไฟฟา
                  และหลอดวิทยุนอกจากนี้ยังใชในการทำสีในอุตสาหกรรมเครื่องปนดินเผาและเครื่องแกว จังหวัดเพชรบุรี
                  พบทังสเตนบริเวณตำบลหวยของ อำเภอบานลาด มีพื้นที่แหลงแรจํานวน 1 แหลง เนื้อที่รวม 0.15

                  ตารางกิโลเมตร และมีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 92.13 เมตริกตัน ปจจุบัน
                  มีประทานบัตรจํานวน 1 แปลง ของนายไพทัน เครือแกว ณ ลําพูน ซึ่งเปนประทานบัตรเดียวกับ
                  ประทานบัตรหินแกรนิต ในรอบ 10 ปที่ผานมา (ปพ.ศ. 2541-2550) พบวา จังหวัดเพชรบุรีไมมีผลผลิต
                  ทังสเตนมาตั้งแตปพ.ศ.2541-2549 จนกระทั่งปพ.ศ.2550 มีผลผลิตทังสเตน 10.2 เมตริกตัน มูลคา

                  1.01 ลานบาท

                           3) หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ
                           หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ มีองคประกอบทางเคมีคือ มีปริมาณของแคลเซียมคารบอเนต
                  (CaCO 3) รอยละ 90.0-95.5 หรือมีปริมาณของแคลเซียมออกไซด (CaO) รอยละ 50.42-53.23 และมีคา
                  มลทินของ SiO2 มากกวารอยละ 1 สวนใหญจะนําไปใชในการทำปูนขาวสำหรับปรับสภาพน้ำและ

                  อากาศ อุตสาหกรรมการเกษตร เปนตน จังหวัดเพชรบุรีพบหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ ทางดานเหนือ
                  และตะวันออกของจังหวัด บริเวณเขาอีโก และเขาอิบิด ตำบลหนองชุมพลเหนือ อำเภอเขายอย
                  เขาน้ำตก ตำบลเขาใหญ และเขาเจาลายใหญ ตำบลชะอำ อำเภอชะอำ มีพื้นที่แหลงแรจํานวน 3 แหลง
                  เนื้อที่รวม 2.53 ตารางกิโลเมตร และมีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ

                  477.83 ลานเมตริกตัน หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ ไมเคยมีการผลิตในจังหวัดเพชรบุรีแตพบวาเคยมี
                  คำขอประทานบัตรหินปูนชนิดนี้จํานวน 2 แปลง บริเวณตำบลนายาง อำเภอชะอำ

                           4) ดินขาว
                           ดินขาวหรือเคโอลิน (Kaolin) มีสูตรทางเคมี Al 4(Si4O10)(OH) 8 องคประกอบสวนใหญเปนแรดิน
                  ชนิดตางๆ ไดแก เคโอลิไนตอิลไลตฮาลลอยไซตเอนเดลไลตดิกไกตเนไครตแอลลอเฟน และอื่นๆ

                  ในอัตราสวนที่แตกตางกัน นอกจากนี้ยังมีแรชนิดอื่นปะปนอยู เชน ควอตซไมกา และเฟลดสปาร
                  และมีอินทรียวัตถุและออกไซดของโลหะตางๆ อันเปนตัวทำใหดินเกิดสีในจํานวนที่ต่ำ ซึ่งดินขาวเกิดจาก
                  การที่แรอะลูมิเนียมซิลิเกต โดยเฉพาะเฟลดสปารในหินตางๆ ผุสลายเปลี่ยนสภาพ หรือเกิดการเปลี่ยนแปลง

                  สภาพเนื่องจากน้ำรอน ประโยชนของดินขาว ใชในอุตสาหกรรมเครื่องปนดินเผา กระเบื้องเคลือบ
                  เครื่องสุขภัณฑกระดาษ สียาง วัสดุทนไฟและอิฐ แหลงดินขาวในจังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่แหลงแรจํานวน
                  1 แหลง ไดแกแหลงดินขาวเขาโปงพรม พบบริเวณเขาโปงพรม ตำบลพุสวรรคอำเภอแกงกระจาน เนื้อที่รวม
                  3.70 ตารางกิโลเมตร และมีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 6.07 ลานเมตริกตัน

                  ผลวิเคราะหองคประกอบของแรโดยวิธี X-Ray Diffraction ประกอบดวย ควอตซอิลไลตและเคโอลิไนต
                  ปจจุบันมีประทานบัตรจํานวน 5 ประทานบัตร ซึ่งเปดการ 3 แปลง และหยุดการ 2 แปลง ในรอบ 10 ป
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161