Page 153 - Phetchaburi
P. 153

3-77





                               2) หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง

                               หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางพิจารณาจากลักษณะทางกายภาพเปนสวนใหญ
                  คุณสมบัติที่จําเปนตองทดสอบหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง ไดแก การดูดซึมน้ำ ความคงทนตอ
                  การบดยอยใหเปนกอนดวยแรงบดกระแทก ความคงทนตอการยอยบดภายใตแรงกดดันที่ไมคงที่

                  ความคงทนตอการขัดถูและแรงบดกระแทกใหเหลี่ยมหาย และความมันของผิวภายใตแรงขัดถู เปนตน
                  สำหรับคามาตรฐานที่ใชในการกําหนดใหเปนหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางครั้งนี้กําหนดใหมีปริมาณ
                  แคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) นอยกวารอยละ 90 หรือมีปริมาณแคลเซียมออกไซด (CaO) นอยกวา
                  รอยละ 50.42 แหลงหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางในจังหวัดเพชรบุรีมีลักษณะเปนเขาลูกโดดๆ

                  แนวเขาสวนใหญวางตัวในแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ทิศตะวันออกเฉียงใตพบกระจายตัวทั่วจังหวัด
                  มีพื้นที่แหลงแรจํานวน 15 แหลง เนื้อที่รวม 18.90 ตารางกิโลเมตร และมีปริมาณทรัพยากรแรสำรอง
                  มีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 3,357.98 ลานเมตริกตัน ปจจุบันจังหวัดเพชรบุรีมีประทานบัตรหินปูนเพื่อ
                  อุตสาหกรรมกอสรางจํานวน 3 แปลง ไดแก บริเวณอําเภอเขายอย มีประทานบัตรจํานวน 2 แปลง

                  ของบริษัท ปรินดา จำกัด (มหาชน) ขณะนี้ประทานบัตรทั้งสองแหงหยุดการ และบริเวณอำเภอชะอำ
                  มีประทานบัตรจำนวน 1 แปลงของหางหุนสวนจํากัด โรงโมหินวาสุกรีซึ่งยังดําเนินการอยู นอกจากนี้
                  จังหวัดเพชรบุรีเคยมีคำขอประทานบัตรหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางจํานวน 12 แปลง บริเวณตำบล
                  หนองชุมพลเหนือ และตำบลหนองชุมพล อำเภอเขายอย ในรอบ 10 ปที่ผานมา (ป พ.ศ. 2541-2550)

                  พบวา ผลผลิตหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสรางมีมากเปนอันดับ 2 ของจังหวัด รองจากหินปูนเพื่อ
                  อุตสาหกรรมซีเมนตมีผลผลิตโดยรวม 1.32 ลานเมตริกตันมูลคาโดยรวม 92.37 ลานบาท โดยผลผลิตป
                  พ.ศ.2550 มีผลผลิตมากที่สุด 0.33 ลานเมตริกตัน มูลคา 23.02 ลานบาท รองลงมาไดแก ปพ.ศ. 2542
                  มีผลผลิต 0.24 ลานเมตริกตัน มูลคา 16.80 ลานบาท ในขณะที่ป พ.ศ.2545 มีผลผลิตนอยที่สุด

                  2,500 เมตริกตัน มูลคา 0.18 ลานบาท

                               3) หินปูนจําแนกประเภทไมไดเนื่องจากไมมีขอมูลผลวิเคราะห หินปูนกลุมนี้ยังไมสามารถ
                  จําแนกประเภทไดเนื่องจากไมมีขอมูลผลการวิเคราะหทางเคมีสวนใหญพบบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต
                  ของจังหวัด ในเขตอุทยานแหงชาติแกงกระจาน อำเภอแกงกระจานและพบบางสวนทางทิศตะวันตกของ

                  อำเภอทายาง มีพื้นที่แหลงแรจํานวน 20 แหลง เนื้อที่รวม 176.98 ตารางกิโลเมตร และมีปริมาณ
                  ทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 91,246.60 ลานเมตริกตัน

                               4) หินออน
                               หินออนเกิดจากการแปรสภาพของหินปูนที่มีความบริสุทธิ์คอนขางสูง (Nearly pure
                  limestone) โดยอิทธิพลของความกดดันและความรอน มีผลทำใหหินดั้งเดิมหลอมและเกิดการตกผลึกใหม

                  ขนาดใหญกวาเดิม และมีสีตางๆ กันออกไป ขึ้นอยูกับสีของหินดั้งเดิมกอนถูกแปรสภาพ ประโยชนของหิน
                  ใชเปนวัสดุกอสรางและหินประดับ เชน ปูพื้น ทำขั้นบันได และรูปสลัก นอกจากนี้ยังสามารถใชใน
                  อุตสาหกรรมอื่นๆ เชน ทำปุย และเคมีภัณฑที่ตองการสวนประกอบของธาตุแคลเซียม จังหวัดเพชรบุรี
                  พบแหลงหินออนกระจายตัวบริเวณเขาอางแกว เขาถ้ำดิน ตำบลเขากระปุก อำเภอทายาง บริเวณดังกลาว

                  เคยมีคำขอประทานบัตรหินออนจํานวน 2 แปลง มีพื้นที่แหลงแรจํานวน 2 แหลง เนื้อที่รวม 11.11
                  ตารางกิโลเมตร และมีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 2,554.43 ลานเมตริกตัน
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158