Page 154 - Phetchaburi
P. 154

3-78





                               5) หินออนและหินปูน

                               หินออนและหินปูนจังหวัดเพชรบุรีพบบริเวณเขาอางแกว เขาถ้ำดิน ถ้ำไกหลน และถ้ำลับแล
                  ตำบลเขากระปุก อำเภอทายาง มีพื้นที่แหลงแรจำนวน 2 แหลง เนื้อที่รวม 16.06 ตารางกิโลเมตร
                  และมีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 6,105.08 ลานเมตริกตัน พบประทานบัตร

                  หินออนจํานวน 1 แปลง บริเวณเขาถ้ำดิน ตำบลเขากระปุก อำเภอทายาง ของนายเชิดเกียรติอินทเสม
                  รับชวงโดยหางหุนสวนจำกัด ปราณบุรีรวมมิตร ซึ่งยังดำเนินการอยางไรก็ตาม การจําแนกหินออนและ
                  หินปูนประเภทนี้จําเปนตองมีการเก็บขอมูลเพื่อวิเคราะหทางเคมีเพิ่มเติม เพื่อใหการจําแนกพื้นที่มี
                  ความละเอียดและถูกตองมากยิ่งขึ้น

                               6) หินแกรนิต

                               หินแกรนิต เปนหินอัคนีแทรกซอนชนิดหนึ่ง ซึ่งมีแอลคาไลเฟลดสปารและควอตซเปน
                  สวนใหญ มีแรแพลจิโอเคลสเฟลดสปารและมีมัสโคไวตไบโอไทตและ/หรือฮอรนเบลนดหรือไพรอกซีน
                  เปนสวนนอย แรแอลคาไลเฟลดสปารจะตองมีปริมาณมากกวาสองในสามของแรเฟลดสปารทั้งหมด
                  จังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่แหลงแรจํานวน 1 แหลง บริเวณตำบลหวยของ อำเภอบานลาด มีเนื้อที่รวม 0.15

                  ตารางกิโลเมตร และมีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 14.99 ลาน เมตริกตัน
                  ปจจุบันจังหวัดเพชรบุรีมีประทานบัตรหินแกรนิตจำนวน 1 แปลง บริเวณตำบลหวยของ อำเภอบานลาด
                  ของนายไพทัน เครือแกว ณ ลําพูน ซึ่งขอประทานบัตรบริเวณนี้ในการทำแรวุลแฟรมควอตซและ
                  หินประดับชนิดหินแกรนิต ขณะนี้ประทานบัตรแหงนี้สิ้นอายุและกําลังขอตออายุประทานบัตร

                  นอกจากนี้ยังเคยมีคำขอประทานบัตรหินแกรนิต จํานวน 2 แปลง บริเวณตำบลทาไมรวก อำเภอทายาง
                  ในรอบ 10 ปที่ผานมา (ปพ.ศ.2541-2550) พบวา มีผลผลิตหินแกรนิตในบางปไดแก ป พ.ศ. 2544
                  มีผลผลิต 130 เมตริกตัน ปพ.ศ. 2545 มีผลผลิต 150 เมตริกตัน และป พ.ศ. 2550 มีผลผลิต
                  470เมตริกตัน


                               7) ทรายกอสราง
                               ทรายกอสรางเปนทรายที่มีปริมาณซิลิกาไมสูงนัก มีแรอื่นเปนมลทินปะปนอยูในเม็ดทราย
                  มักมีน้ำเหล็กเคลือบเม็ดทรายหรือแทรกอยูเสมอ ทำใหทรายมีสีไปทางเหลืองหรือออกแดงของสีสนิม
                  เหล็กทรายประเภทนี้ใชถมที่ ใชทำถนน และผสมคอนกรีตไดดีไมคอยมีปญหาในการพิจารณาคุณสมบัติ
                  ทางเคมีมากนัก โดยปกติทรายกอสรางมีเม็ดทรายเปนเหลี่ยม ขนาดเม็ดทรายตองมีขนาดเล็กกวา 10 เมช

                  เม็ดเล็กตองใหญกวา 100 เมช และสวนประกอบทางเคมีตองไมมีเกลือตางๆ ปนทรายเพื่อการกอสรางใน
                  จังหวัดเพชรบุรีพบทั้งทรายบกและทรายแมน้ำ ซึ่งมีการสะสมตัวในหลายอำเภอ บริเวณที่มีการทำทาทราย
                  ที่สำคัญ ไดแก หวยอางหิน หวยไผดำ อำเภอหนองหญาปลอง หวยแมประจัน อำเภอแกงกระจาน

                  และแมน้ำเพชรบุรี อำเภอทายาง และยังมีการสะสมตัวในแมน้ำ ลำคลองสายเล็กๆ ของจังหวัดอีกหลายพื้นที่
                           3.4.4.2 กลุมแรเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม


                           กลุมแรเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม จังหวัดเพชรบุรีประกอบดวยแรที่สำคัญคือ
                  ดีบุก และทังสเตน แรฟลูออไรตแบรไรตควอตซดินขาว และหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ ครอบคลุมเนื้อที่
                  72.46 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 22 ของพื้นที่แหลงแรทั้งหมด
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159