Page 155 - Phetchaburi
P. 155

3-79





                           1) ดีบุก

                           แรดีบุกสวนใหญเปนชนิดแคสซิเทอไรตมีสูตรทางเคมี SnO2 แหลงแรดีบุกมีความสัมพันธใกลชิด
                  กับหินแกรนิต ยุคไทรแอสซิกและครีเทเชียส มักพบแหลงแรตามบริเวณแนวสัมผัสกับหินแกรนิตและ
                  หินทองที่ที่มีอายุแกกวา ชนิดของแหลงแรดีบุกแบงได 2 ชนิด คือ แหลงแรแบบปฐมภูมิซึ่งพบแรอยูใน

                  หินตนกําเนิดเดิมที่ยังไมผุพัง มีลักษณะเปนสายแรสวนใหญมีตนกําเนิดจากสายแรควอตซและเพกมาไทต
                  และแบบทุติยภูมิเกิดจากแรดีบุกผุพังหลุดออกจากตนกำเนิดเดิม แลวถูกพัดพาไปสะสมตัวอยู ณ ที่แหงใหม
                  ซึ่งผลผลิตแรสวนใหญไดจากแหลงแรแบบนี้โดยทั่วไปพบแรสะสมตัวอยูในลักษณะแหลงแบบลานแร
                  ลานแรพลัดไหลเขาและลานแรตามทองหวย แรพลอยไดจากการทำเหมืองแรดีบุก ไดแกอิลมิไนตโมนา

                  ไซตรูไทล-ซีไลตซีโมไนตและเซอรคอน ประโยชนของดีบุกสามารถนําไปใชในงานตางๆ เชน ใชผสมโลหะ
                  ตะกั่วบัดกรีผสมสังกะสีและพลวงในงานชุบสังกะสีมุงหลังคา ใชในอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
                  ผสมกับพลวงในการทำโลหะตัวพิมพนอกจากนี้ยังใชเปนสารประกอบในการผลิตแกวเนื้อทึบ เครื่องปนดินเผา
                  แหลงแรดีบุกในจังหวัดเพชรบุรีมีเนื้อที่รวม 8.88 ตารางกิโลเมตร ปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพ

                  เปนไปไดเทากับ 141.15 เมตริกตัน พบบริเวณตำบลทาไมรวก อำเภอทายาง และตำบลยางน้ำกลัดเหนือ
                  อำเภอหนองหญาปลอง มีพื้นที่แหลงแรจำนวน 4 แหลง ดังนี้

                           (1) แหลงแรดีบุกทาลาว บริเวณบานทาลาว ตำบลทาไมรวก อำเภอทายาง ครอบคลุมเนื้อที่
                  0.74 ตารางกิโลเมตร ชั้นกะสะมีความหนา 10-30 เซนติเมตร มีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพ
                  เปนไปไดเทากับ 1.10 เมตริกตัน แหลงแรดีบุกบริเวณนี้เคยมีการทำเหมือง ปจจุบันพบเพียงรอยรอย

                  การขุดหาแร

                           (2) แหลงแรดีบุกเขาดิน บริเวณบานทาไมรวก ตำบลทาไมรวก อำเภอทายาง ครอบคลุมเนื้อที่
                  0.81 ตารางกิโลเมตร เปนแรดีบุกที่มีการสะสมตัวแบบลานแร แรดีบุกอยูในชั้นกะสะหนา 10-30 เซนติเมตร
                  ลึกจากผิวดิน 1 เมตร ความสมบูรณเฉลี่ยของแหลงแรดีบุกไมต่ำกวา 1-2 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร

                  มีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 1.22 เมตริกตัน แหลงแรดีบุกบริเวณนี้เคยมี
                  การทำเหมืองมากอน

                           (3) แหลงแรดีบุกเขาตะครอคอม บริเวณบานหินเพลิง ตำบลทาไมรวก อำเภอทายาง
                  ครอบคลุมเนื้อที่ 7.19 ตารางกิโลเมตร เปนแหลงแรแบบพลัดเชิงเขา พบชั้นกะสะหนา 10-30 เซนติเมตร
                  ลึกจากผิวดินเฉลี่ย 1 เมตร ความสมบูรณเฉลี่ยของแหลงแรดีบุกไมต่ำกวา 1-2 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร

                  มีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ10.79 เมตริกตัน ปจจุบันสายแรและหินบริเวณ
                  ดังกลาวผุพังไปหมดแลว

                           (4) แหลงแรดีบุกทาเฉลา-บานใหม บริเวณบานหนองเปราะ ตำบลยางน้ำกลัดเหนือ
                  อำเภอหนองหญาปลอง ครอบคลุมเนื้อที่ 0.14 ตารางกิโลเมตร สวนมากเปนแหลงแรดีบุกแบบลานแร
                  ชั้นกะสะหนา 4.5 เมตร มีความสมบูรณของแหลงแร 0.494 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร มีปริมาณ

                  ทรัพยากรแรสำรองที่ไดรับอนุญาตใหผลิต 128.04 เมตริกตัน (สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี,
                  2551) ปจจุบันมีประทานบัตรจํานวน 1 แปลง ของนางไสว สระพังทอง ซึ่งยังไมไดแจงเปดการ
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160