Page 151 - Phetchaburi
P. 151

3-75





                    3.4.4 ทรัพยากรแร


                        จังหวัดเพชรบุรีมีทรัพยากรแรที่สำคัญหลายชนิด กระจายตัวในพื้นที่ตางๆ ของจังหวัด
                  ทรัพยากรแรที่พบมีทั้งสิ้น 11 ชนิด ไดแก หินปูน (เพื่ออุตสาหกรรมปูนซีเมนต หินปูนเพื่ออุตสาหกรรม
                  กอสราง หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ หินปูนที่จำแนกไมได) ถานหิน ดินขาว หินออน หินแกรนิต ดีบุก
                  ทังสเตน ฟลูออไรตแบไรตควอตซ และโดโลไมตมีเนื้อที่รวม 330.18 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปน 5.3%
                  ของเนื้อที่จังหวัด นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรธรณีอีกประเภทหนึ่ง คือ ทรายกอสรางจากขอมูล ณ ป 2549

                  มีผูถือประทานบัตรทำเหมืองแรและเหมืองหินในจังหวัดเพชรบุรีจำนวน 13 ประทานบัตร โดยมีการเปด
                  การทำเหมือง 8 แปลง ไดแก ควอตซและหินประดับชนิดหินแกรนิต 1 แปลง หินปูนเพื่ออุตสาหกรรม
                  ปูนซีเมนต 1 แปลง หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมปูนซีเมนตและฟอสเฟต 1 แปลง ดินขาว 3 แปลง และ

                  หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง 2 แปลง หยุดการทำเหมือง 4 แปลง ไดแก ดินขาว
                  2 แปลง หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง 2 แปลงและยังไมแจงเปดการ ดีบุก
                  1 แปลง ปจจุบันมีทรัพยากรแรที่สำคัญทางดานเศรษฐกิจ โดยแรที่มีการผลิตมากที่สุดในจังหวัดเพชรบุรี
                  ไดแก หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนตรองลงมา คือ หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง และดินขาว

                  ตามลำดับ ทรัพยากรแรดังกลาว สามารถจําแนกตามลักษณะการใชประโยชนได 4 กลุม คือ (1) กลุมแร
                  เพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ ใชเปนวัตถุดิบสำหรับงานกอสราง
                  สาธารณูปโภคพื้นฐานตางๆ เชน ถนน เขื่อนชลประทาน ฝายกั้นน้ำ เปนตน แรในกลุมนี้แบงเปน 2 กลุม
                  คือ กลุมแรเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนตไดแก หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนตและกลุมแรเพื่ออุตสาหกรรม

                  กอสราง ไดแก หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง หินปูนที่จําแนกประเภทไมไดเนื่องจากไมมีขอมูลผล
                  วิเคราะหทางเคมีหินออน หินออนและหินปูน หินแกรนิต และทรายกอสราง(2) กลุมแรเพื่อสนับสนุน
                  เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ใชเปนวัตถุดิบขั้นพื้นฐานของกระบวนการผลิตตางๆ สำหรับอุตสาหกรรม
                  ตอเนื่องหลายสาขา เชน อุตสาหกรรมอาหารและยา อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสีพลาสติก

                  อุตสาหกรรมหลอโลหะ อุตสาหกรรมเซรามิกและแกว แรที่สำคัญในกลุมนี้สามารถแบงเปน 2 กลุม คือ
                  กลุมแรโลหะ ไดแก ดีบุก และทังสเตน และกลุมแรอุตสาหกรรม ไดแกหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ ดินขาว
                  ฟลูออไรตแบไรตและควอตซ (3) กลุมแรเพื่อการเกษตร ใชเปนวัตถุดิบสำหรับผลิตปุย ปรับปรุงคุณภาพดิน

                  แรกลุมนี้คือโดโลไมต และ (4) กลุมแรพลังงาน ใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา และเปนวัตถุดิบ
                  เชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมที่ใชพลังงานความรอนไมสูงนัก แรกลุมนี้คือ ถานหิน (กรมทรัพยากรธรณี,
                  2551) ดังนี้
                         3.4.4.1 กลุมแรเพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ ประกอบดวย
                  แรที่สำคัญ คือ หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนตหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง หินปูนที่จำแนกประเภท

                  ไมไดเนื่องจากไมมีขอมูลผลวิเคราะหทางเคมีหินออน หินออนและหินปูน หินแกรนิต มีเนื้อที่รวม
                  227.51 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปน 68.9% ของเนื้อที่แหลงแรทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรธรณี
                  อีกประเภทหนึ่ง คือ ทรายกอสราง

                               1) หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต โดยทั่วไปหินปูนมีสวนประกอบทางเคมีสวนใหญ
                  เปนแคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) ในรูป ของแรแคลไซต (calcite) เกิดจากการตกตะกอนทางเคมีจาก
                  น้ำทะเลในสภาวะแวดลอมบริเวณลานพื้นที่ราบของทะเลตื้น (platform) ที่เอียงเทเล็กนอยตั้งแตสวนที่
                  เปนทะเลเปดถึงบริเวณที่เปนทะเลสาบ (lagoon) ซึ่งมีการรุกเขาและถดถอยของน้ำทะเลอยูเสมอ
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156