Page 148 - Phetchaburi
P. 148

3-72





                           พื้นที่ปาชายเลน

                           ปาชายเลน เปนกลุมสังคมพืชซึ่งขึ้นอยูในเขตน้ำลงต่ำสุดและน้ำขึ้นสูงสุด บริเวณตีนเขา
                  อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง สังคมพืชที่ประกอบดวยพันธุไมหลายชนิดหลายตระกูล และเปนพวกที่มี
                  ใบเขียวตลอดป (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความตองการสิ่งแวดลอมที่คลายกัน

                  ซึ่งสวนใหญประกอบดวยพันธุไมสกุลโกงกาง (Rhizophora spp.) เปนไมสำคัญและมีไมตระกูลอื่นบาง
                  จากการสำรวจของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (2555) พบวา พื้นที่ที่มีสภาพเปนปาชายเลนใน
                  จังหวัดเพชรบุรี ป พ.ศ. 2552 จำนวน 18,568.75 ไร

                           แหลงหญาทะเล
                           จังหวัดเพชรบุรี มีแหลงหญาทะเลนอยมาก พบหญาตะกานน้ำเค็ม (Ruppia maritima)

                  เพียงชนิดเดียว ซึ่งสามารถเจริญเติบโตไดดีในบอเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ มีพื้นที่ 10 ไร



























                  รูปที่ 3-27  แผนที่แหลงขอมูลหญาทะเล จังหวัดเพชรบุรี

                  ที่มา : สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

                           สัตวทะเลหายาก
                           ศูนยวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนบน สวนอนุรักษทรัพยากร
                  ทางทะเล และสำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงที่ 2 (2560) ไดสำรวจสัตวทะเลหายาก

                  บริเวณพื้นที่อาวไทยตอนบน ซึ่งจากการสำรวจพบสัตวทะเลหายาก 3 ชนิด พบวาฬบรูดา (Bryde’s
                  whale: Balaenoptera edeni) จำนวน 12 ตัว โลมาอิรวดี (Irrawaddy dolphin: Orcaella
                  brevirostris) จำนวน 20 ตัว โลมาหัวบาตรหลังเรียบ (Finless porpoise: Neophocaena

                  phocaenoides) จำนวน 5 ตัว บริเวณชายฝงทะเลแหลมผักเบี้ย จังหวัดเพชรบุรี (กรมทรัพยากร
                  ทางทะเลและชายฝง, 2560)
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153