Page 144 - Phetchaburi
P. 144

3-68





                  Bama Kayin (กะเหรี่ยงพมา) และกะเหรี่ยงโผลว/โปว ในชื่อเรียก Taliang Kayin (กะเหรี่ยงมอญ) ทั้งนี้

                  มีคำอธิบายถึงความหมายของคำเรียกชาวกะเหรี่ยงในหลายที่มา อาทิ Kayin มีความหมายในภาษาบาลีวา
                  คนเลี้ยงสัตวที่สกปรก (dirty feeders), Karen เชื่อมโยงกับภาษาสันสกฤตวา Karita หรือกลุมคนปา
                  (barbarian tribes) นอกจากนี้ คำวา ขา (kha) ในภาษาไทยเรียกคนที่อยูในระดับต่ำ นิยามถึงกลุมคน

                  นับถือผีที่อาศัยอยูในปา โดยกลุมคนในพื้นที่ราบลุมซึ่งมีอารยธรรม และกะเหรี่ยงโผลวเรียกหมูบาน
                  ใจแผนดินแตในอดีตวา "คึ่ยคึ่ย" หมายถึง บริเวณแพรกน้ำหรือตนน้ำ
                            คำวากะหราง เปนคำที่คนในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัด
                  กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อุทัยธานี ราชบุรี เพชรบุรี เรียกกลุมกะเหรี่ยงสะกอ ซึ่งมีความแตกตางจาก

                  กะเหรี่ยงโป ที่เปนคนสวนใหญในพื้นที่เขตนี้ Lehman (1979: 230) กลาววา คนกาญจนบุรีใชคำวา
                  กะเหรี่ยง ที่หมายถึงทั้งกลุมโปและสะกอโดยรวม แตถาตองการจำแนกความแตกตางก็จะเรียกกลุม
                  สะกอวา กะหราง ขณะที่ชาวบานในหมูบานบางกลอยนั้น เรียกตัวเองวา "ปกาเกอะญอ" และเปนที่รูจัก
                  กันในแวดวงสังคมในชื่อเรียก "กะเหรี่ยงบางกลอย" "กะเหรี่ยงตนน้ำเพชร" เนื่องจากสถานการณ

                  ความขัดแยงระหวางรัฐกับชุมชนในการอพยพโยกยาย ทำใหสื่อสาธารณะนำเสนอขาวสารตอเนื่อง
                  ยาวนาน ทั้งนี้เนื่องจากกะเหรี่ยงนั้นมีหลายกลุมในการเผยแพรตอสาธารณชน ชื่อเรียกเฉพาะกะเหรี่ยง
                  จากบานโปงลึก-บางกลอย, บางกลอยบน-ใจแผนดิน จึงถูกยนยอเพื่อความเขาใจตรงกัน




































                  รูปที่ 3-23  ชาวกะเหรี่ยง – กะหราง
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149