Page 143 - Phetchaburi
P. 143

3-67





                         2) ชาวไทยพวน

                            บรรพบุรุษของคนไทยพวน ที่มาบปลาเคา อำเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี เปนกลุมชาติ
                  พันธุที่เคยตั้งถิ่นฐานอยูเมืองพวน เชียงขวาง ประเทศลาว แลวถูกกวาดตอนเขามาในไทยตั้งแตใน
                  สมัยกรุงธนบุรี บางสวนกระจายตัวตั้งรกรากอยูในจังหวัดอื่นๆ "พวน" ซึ่งเปนคนไทย สาขาหนึ่ง เดิมผูไทย

                  พวน มีถิ่นฐานอยูทางฝงแมน้ำโขงในประเทศลาว ทางแขวงซำเหนือ และแขวงเซียงขวาง พวกผูไทย
                  มีอยูทางอีสาน มีจังหวัดสกลนคร และนครพนม เปนตน สวนพวกพวนและพวกโซงมีอยูกระจัด
                  กระจายเปนแหงๆ ทางภาคกลางมีจังหวัดสุโขทัย จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดราชบุรี
                  จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดกาญจนบุรีเปนตน




































                  รูปที่ 3-22  ชาวไทยพวน

                         3) ชาวกะเหรี่ยง – กะหราง
                            กะเหรี่ยงมีอยู 2 กลุมในไทยคือกะเหรี่ยงสะกอ และกะเหรี่ยงโปว สวนใหญจะพบกะเหรี่ยง
                  สะกออยูเพียงไมกี่หมูบานในเขตภาคกลางและภาคตะวันตก แตก็มีใหพบไดบางที่ปาละอูและบางพื้นที่
                  ในเขตจังหวัดเพชรบุรีที่ซึ่งกะเหรี่ยงสะกอถูกเรียกวา กะหราง ในขณะที่เรียกกะเหรี่ยงโปววา กะเหรี่ยง

                  อาศัยอยูในเขตอำเภอแกงกระจานไปทางตะวันตกประมาณ 70-80 กิโลเมตร มีหมูบานขนาดกลาง
                  หมูบานหนึ่งที่มีประชากรชาวกะเหรี่ยงสะกอประมาณ 400 คนใชเปนภูมิลำเนา หมูบานนี้ตั้งอยูบนภูเขา
                  เปนหมูบานสุดทายของชายแดนไทยทางตะวันตกโดยพื้นที่ดังกลาวนับวาเปนพื้นที่ที่มีชาวกะเหรี่ยงอาศัย

                  อยูมาก ชนเผานี้ยังยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมและรักษาสืบทอดมาจนถึงปจจุบันนี้
                  ประเพณีขาวกะเหรี่ยงนี้เปนประเพณีเกี่ยวกับการเรียกขวัญ หรือรับขวัญของบุคคลในครอบครัวที่ได
                  แยกยายกันไปทำมาหากินอยูที่อื่น ชื่อเรียก กะหราง, กะเหรี่ยง ซึ่งในอดีตคนกะเหรี่ยงถูกเรียกขานใน
                  หมูคนไตและคนไทยวา ‘ยาง’ ชาวพมาแยกแยะกะเหรี่ยงสองกลุม คือ กะเหรี่ยงสะกอ/จกอว โดยใชชื่อเรียก
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148