Page 145 - Phetchaburi
P. 145

3-69





                    3.4.2 ทรัพยากรประมง

                           ทรัพยากรประมง หมายถึง พืชน้ำ สัตวน้ำ รวมทั้งผลผลิตหรือผลพลอยไดจากพืชและสัตวตางๆ ที่
                  อาศัยอยูในน้ำ จำพวกพืชน้ำ ไดแก สาหรายตางๆ เชน สาหรายใบ สาหรายวุน จำพวกสัตวน้ำ ไดแกกุง
                  หอย ปูปลา เตา ปลาหมึก และสัตวน้ำอื่นๆ จำพวกผลผลิตหรือผลพลอยได เชนไขของสัตวน้ำเปนตน

                  สำหรับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำในพื้นที่น้ำจืด กรมประมงดำเนินการเพาะขยายและปลอยพันธุสัตวน้ำจืด
                  จำนวน 39 ชนิด โดยในครั้งนั้นสามารถเพาะพันธุสัตวน้ำพื้นเมืองครั้งแรกของโลกได 2 ชนิด ไดแก

                  ปลารากกลวยจินดา (Acantopsis thiemmedhi : Sontirat,1999) และปลาจิ้มฟนจระเขยักษ
                  (Doryichthys boaja) และพิจารณาคัดเลือกสัตวน้ำจืดจำนวน 36 ชนิด ประกอบดวยปลาสรอยลูกกลวย

                  ปลาเทพา ปลาเลียหิน ปลารากกลวยจินดา ปลาแปบควาย ปลาแดง ปลายี่สกไทย ปลาจาด ปลาสรอยเกล็ดถี่
                  ปลาซิวควาย ปลาชะโอน ปลากะโห ปลาเวียน ปลาเทโพ ปลามา ปลาอีกง ปลาแกมช้ำ ปลาสลาด ปลาดุกอุย
                  ปลาดุกดาน ปลากระทิง ปลาพรมหัวเหม็น ปลาแขยงหิน ปลากดเหลือง ปลาบา ปลาสรอยนกเขา
                  ปลานวลจันทรน้ำจืด ปลาจีด ปลาตะพัด ปลาหมอตาล ปลาตุม ปลาพลวงชมพู ปลารองไมตับ

                  ปลากระดี่มุก กบภูเขา และปลาหลด (ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเพชรบุรี, 2564) ทางจังหวัดเพชรบุรี
                  สงเสริมเลี้ยง (1) ปลาเวียน (Tor tambroides) เปนปลาประจำจังหวัดเพชรบุรี ปลาเวียนชอบอยูอาศัย
                  ในบริเวณน้ำตก หวย และลำธารที่มีน้ำใสสะอาด มีพื้นเปนกรวดหินหรือทราย เชน บริเวณตนแมน้ำเพชรบุรี
                  อางเก็บน้ำเขื่อนแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี (2) ปลาจาด (Hypsibarbus malcolmi Smith, 1945)

                  เปนสกุลของปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศปลาตะเพียน (Cyprinidae) และ (3) ปลาอีกง (Mystus gulio
                  Hamilton,1822) เปนปลาน้ำจืดและน้ำกรอยชนิดหนึ่ง เปนปลาหนังอยูในวงศปลากด (Bagaridae)
                  มีลักษณะลำตัวคอนขางกลมหนา ปกติมีสีเทาอมทอง หรือเทาอมมวง ทองมีสีขาว กินกุง, ตัวออนของแมลง,

                  แพลงกตอนพืชและสัตวเปนอาหาร















                       ก. ปลารากกลวยจินดา                          ข. ปลาจิ้มฟนจระเขยักษ

                  รูปที่ 3-24  พันธุปลาน้ำจืด

                           ความหลากหลายชนิดพันธุ และความชุกชุมของปลาน้ำกรอยในพื้นที่ปาชายเลนปากแมน้ำ
                  เพชรบุรี อำเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี (รูปที่ 3-25) มีพันธุปลาที่พบ 26 ชนิด จาก 20 วงศ โดยมี

                  วงศ Gobiidae เปนวงศเดนที่มีจำนวนชนิดมากที่สุดคือ 6 ชนิด ไดแก ปลาบู (Gobiopterus chuno)
                  ปลาบูเกล็ดแข็ง (Butis spp.) ปลาเขือ (Pseudacryptes sp.) ปลาบู (Rhinogobius sp.) และปลาบู
                  (Acentrogobius sp.) รองลงมาเปนวงศ Hemiramphidae พบ 2 ชนิด ไดแก ปลาตับเตา
                  (Hamiramphus sp.) และปลาเข็ม (Dermogenys siamensis) สวนวงศอื่นๆ ไดแก Bagridae,
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150