Page 142 - Phetchaburi
P. 142

3-66





                           13) น้ำตกแมกระดังลา

                               น้ำตกแมกระดังลา เปนน้ำตกที่มีความสมบูรณของระบบนิเวศน มีน้ำตลอดทั้งป การเดินทาง
                  เขาเที่ยวชมสะดวก หางจากเสนทางหลัก (เพชรเกษม) ประมาณ 30 กิโลเมตร ซึ่งใชเสนทางเดียวกันกับ
                  น้ำพุรอนหนองหญาปลอง ระยะทางเลยน้ำพุรอนไป 7 กิโลเมตร ถาเดินทางหนาฝน ตองใชรถยนต

                  ขับเคลื่อน 4 ลอ เนื่องจากเสนทางมีน้ำไหลผานถนนเปนระยะๆ
                        3.4.1.2 สถานที่ทองเที่ยวทางวัฒนธรรมกลุมชนชาติพันธุ

                        ประชากรในจังหวัดเพชรบุรีมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและเผาพันธุอันเปนลักษณะเดนของ
                  จังหวัดที่สืบทอดมาแตโบราณกาล ประกอบดวยชนหลายเชื้อชาติ แตละเชื้อชาติมีความแตกตางกันทาง
                  วัฒนธรรมและประเพณี แบงตามสายเชื้อชาติได ดังนี้ (องคการบริหารสวนจังหวัดเพชรบุรี, 2565)

                         1) ผูไทดำ หรือไทยทรงดำ
                            เปนกลุมชาติพันธุไทยที่มีถิ่นฐานเดิมอยูในแควนสิบสองจุไทหรือเมืองแถนหรือเดียนเบียนฟู
                  ประเทศเวียดนาม ในปจจุบัน ซึ่งมีที่ตั้งอยูในแถบแมน้ำดำและแมน้ำแดง ปจจุบันอยูในเขตเวียดนาม
                  เหนือตอนเชื่อมตอกับลาวและจีนตอนใต ผูไทดำหรือไทยทรงดำมีชื่อเดิมเรียกกันวา ไทดำ (Black Tai)

                  หรือ ผูไตดำ เพราะนิยมใสเสื้อดำลวน ซึ่งแตกตางจากกลุมคนไทที่อยูใกลเคียงกัน เชน “ไทขาว”
                  หรือ(White Tai) นิยมแตงกายดวยเสื้อผาสีขาวและไทแดง หรือ (Red Tai) ชอบใชสีแดงขลิบและ
                  ตกแตงชายเสื้อสีดำเปนตน ไทดำกลุมนี้ไดถูกกวาดตอนเขามาในประเทศไทย ตั้งแตสมัยกรุงธนบุรีและ
                  รัตนโกสินทรตอนตน คนไทยภาคกลางเรียกกันวา “ลาวทรงดำ” เพราะเขาใจวาเปนพวกเดียวกับลาว

                  และอพยพมาพรอมกับลาวกลุมอื่นๆ ตอมาชื่อเดิมไดหดหายลง คำวา”ดำ” หายไปนิยมเรียกกันใน
                  ปจจุบันวา”ลาวทรง”หรือ “ลาวโซง” สวนใหญอาศัยอยูในเขตอำเภอเขายอย


































                  รูปที่ 3-21  ผูไทดำ หรือไทยทรงดำ
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147