Page 159 - Phetchaburi
P. 159

3-83





                  ใหแกพืชแหลงโดโลไมตจังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่แหลงแรจํานวน 1 แหลง เนื้อที่ 0.67 ตารางกิโลเมตรและ

                  มีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 52.42 ลานเมตริกตัน พบบริเวณตำบล สองพี่นอง
                  อำเภอแกงกระจาน (รูปที่ 6-14) ไมเคยมีการผลิตโดโลไมตในจังหวัดเพชรบุรีอยางไรก็ตามเคยมีคำขอ
                  ประทานบัตรโดโลไมตจํานวน 2 แปลง ในบริเวณนี้

                           3.4.4.4 กลุมแรพลังงาน
                           กลุมแรพลังงานในจังหวัดเพชรบุรีพบเพียง 1 ชนิด คือ ถานหิน ครอบคลุมเนื้อที่ 29.70

                  ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 8.99 ของพื้นที่แหลงแรทั้งหมด ถานหินเปนหินตะกอนที่ติดไฟไดมี
                  สีน้ำตาลถึงดํา เกิดจากการสะสมตัวของซากพืชตามธรรมชาติเมื่อมีปฏิกิริยาทางชีวเคมีและธรณีเคมีภายใต
                  ความรอนและความดันสูง ทำใหซากพืชเหลานั้นเปลี่ยนแปลงไปเปนสารประกอบคารบอน ซึ่งมีคารบอน

                  ตั้งแตรอยละ 50 ขึ้นไปโดยน้ำหนักหรือรอยละ 70 ขึ้นไปโดยปริมาตร การแบงชนิดและคุณภาพของถานหิน
                  ขึ้นกับปริมาณคารบอน คาความรอน และลําดับ การแปรสภาพ คุณลักษณะถานหินที่ใชเปนเกณฑ
                  ในการกําหนดมาตรฐานในการซื้อขาย ประกอบดวยคาความรอน ปริมาณความชื้น ปริมาณสารระเหย
                  ปริมาณคารบอนคงที่ ปริมาณขี้เถา ปริมาณกํามะถัน และขนาดของถานที่ผลิตออกจําหนาย ประโยชนที่สำคัญ

                  ของถานหิน คือ ใชเปนเชื้อเพลิงในการเผาไหมเพื่อใหพลังงานและความรอน นอกจากนี้ยังใชใน
                  อุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนตโรงงานยอมผา และโรงงานผงชูรส เปนตน แหลงถานหินจังหวัดเพชรบุรี
                  มีเนื้อที่รวม 29.70 ตารางกิโลเมตร ปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ
                  10.85 ลานเมตริกตัน พบในทองที่อำเภอหนองหญาปลอง และอำเภอ แกงกระจาน มีพื้นที่แหลงแร

                  จำนวน 2 แหลง ดังนี้
                            (1) แหลงถานหินแองหนองหญาปลอง บริเวณบานสะแกงาม ตำบลหนองหญาปลอง
                  อำเภอหนองหญาปลอง มีเนื้อที่ 12.29 ตารางกิโลเมตร พบถานหินในหินยุคเทอรเชียรีตอนกลาง
                  ชั้นถานหินหนาเฉลี่ย 5 เมตร วางตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ทิศตะวันออกเฉียงใต มีปริมาณสำรองที่

                  คาดคะเน 8.68 ลานเมตริกตัน และปริมาณสำรองที่ประเมินแลว 4.49 ลานเมตริกตัน (กรมทรัพยากรธรณี,
                  2542) ถานหินแองหนองหญาปลองเคยมีประทานบัตรจํานวน 12 แปลง ประทานบัตรทั้งหมดหยุด
                  การเนื่องจากชั้นถานหินอยูลึกจากหนาดินมาก รวมทั้งมีการซึมของน้ำใตดิน

                            (2) แหลงถานหินแองหนองพลับ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปาเด็ง อำเภอแกงกระจาน
                  จังหวัดเพชรบุรี และตำบลหวยสัตวใหญอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธถานหินในสวนของ
                  จังหวัดเพชรบุรีมีเนื้อที่รวม 17.41 ตารางกิโลเมตร ชั้นถานหินแองหนองพลับพบในหินตอนลางของ
                  หินยุคเทอรเชียรีชั้นถานหินมีความหนาเฉลี่ย 3.5 เมตร มีปริมาณสำรองถานหินที่ประเมินแลว
                  17.82 ลานเมตริกตัน และปริมาณสำรองที่คาดคะเน 15.83 ลานเมตริกตัน (กรมทรัพยากรธรณี, 2539)

                  เมื่อคิดปริมาณสำรองเฉพาะแหลงถานหินในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีมีปริมาณสำรองถานหินที่ประเมินแลว
                  6.36 ลานเมตริกตัน ปจจุบันพื้นที่ถานหินแหลงนี้อยูในเขตโครงการพระราชดําริและเขตปาไมซึ่งประชาชน
                  ไดใชประโยชนเปนที่อยูอาศัย การเกษตร และ ปศุสัตว ในรอบ 5 ปที่ผานมา (ปพ.ศ.2541-2545) พบวา

                  ผลผลิตถานหินของจังหวัดเพชรบุรีมีผลผลิตโดยรวม 0.61 ลานเมตริกตัน มูลคาโดยรวม 307.16 ลานบาท
                  โดยผลผลิตปพ.ศ. 2542 มีผลผลิตมากที่สุด 0.17 ลานเมตริกตัน มูลคา 83.50 ลานบาท รองลงมาไดแก
                  ปพ.ศ.2541 มีผลผลิต 0.16 ลานเมตริกตัน มูลคา 80.0 ลานบาท ในขณะที่ปพ.ศ.2545 มีผลผลิตนอยที่สุด
                  0.09 ลานเมตริกตัน มูลคา 44.91 ลานบาท (ตารางที่ 3-19 และรูปที่ 3-31)
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164