Page 158 - Phetchaburi
P. 158

3-82





                           7) ควอตซ

                           ควอตซหรือแรเขี้ยวหนุมาน มีสูตรเคมี SiO2 มักเกิดเปนแทงยาวปลายแหลมทั้งหัวและทาย
                  หรือมีเนื้อสมานแนน ความแข็ง 7 อาจมีสีหรือไมมีสีรอยแตกเวา วาวคลายแกว ชนิดของควอตซสามารถ
                  แบงได 2 ประเภท คือ พวกที่เกิดเปนผลึกหรือมีผลึกหยาบ และพวกที่เกิดเปนผลึกละเอียดยิบหรือ

                  เนียนละเอียด มีขนาดเล็กมาจนมองไมเห็นดวยตาเปลา ควอตซเปนสวนประกอบที่สำคัญของหินอัคนี
                  ที่มีซิลิกามากๆ ในหินอัคนีโดยทั่วไปพบควอตซเกิดรวมกับเฟลดสปารและมัสโคไวทเปนสายแร
                  นอกจากนี้ยังพบไดทั้งหินชั้นและหินแปร อาจพบควอตซเกิดอยูตามชายทองน้ำและฝงทะเลในรูปของทราย
                  ประโยชนของแรควอตซใชในอุตสาหกรรมผลิตแกว ทำวัสดุขัดสีทำเครื่องมือวิทยาศาสตรและเครื่องมือ

                  ทางแสง ทำเครื่องประดับ และ ใชเปนผลึกในเครื่องวิทยุและนาิกา แหลงแรควอตซในจังหวัดเพชรบุรี
                  มีเนื้อที่รวม 4.17 ตารางกิโลเมตร ปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 1.54 ลานเมตริกตัน
                  พบบริเวณตำบลทาไมรวก อำเภอทายาง และตำบลพุสวรรคอำเภอแกงกระจาน มีพื้นที่แหลงแรจํานวน
                  3 แหลง ดังนี้

                           (1) แหลงแรควอตซเขาหลังถนน บริเวณตำบลทาไมรวก อำเภอทายาง ครอบคลุมเนื้อที่
                  3.39 ตารางกิโลเมตร ขนาดของสายแรกวาง 20 เมตร ยาว 500 เมตร และหนา 50 เมตร มีปริมาณ
                  ทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 0.93 ลานเมตริกตัน (Surasak Jivathanond, 2007)
                  แหลงควอตซบริเวณนี้ไมเคยมีการผลิต แตพบวาเคยมีคำขอประทานบัตรควอตซจํานวน 1 แปลง

                           (2) แหลงแรควอตซเขาลอยนอก บริเวณบานเขาลูกชาง ตำบลทาไมรวก อำเภอทายาง
                  ครอบคลุมเนื้อที่ 0.70 ตารางกิโลเมตร ขนาดของสายแรกวาง 20 เมตร ยาว 300 เมตร และหนา 50 เมตร
                  มีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 0.56 ลานเมตริกตัน แหลงแรควอตซบริเวณนี้
                  เคยมีการทำเหมืองมากอนจํานวน 4 แปลง และยังมีรองรอยการทำเหมืองใหเห็นจนถึงปจจุบัน

                           (3) แหลงแรควอตซเขาหนองขาว บริเวณตำบลพุสวรรคอำเภอแกงกระจาน ครอบคลุมเนื้อที่
                  0.08 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 0.05 ลานเมตริกตัน
                  แหลงควอตซบริเวณนี้ไมเคยมีการผลิต แตพบวาเคยมีคำขอประทานบัตรควอตซจํานวน 1 แปลงในรอบ
                  10 ปที่ผานมา (ปพ.ศ.2541-2550) พบวา ผลผลิตควอตซของจังหวัดเพชรบุรีมีผลผลิตโดยรวม

                  23,907 เมตริกตัน มูลคาโดยรวม 17.93 ลานบาท โดยผลผลิตปพ.ศ.2547 มีผลผลิตมากที่สุด
                  14,800 เมตริกตัน มูลคา 11.10 ลานบาท รองลงมาไดแก ปพ.ศ.2546 มีผลผลิต 2,690 เมตริกตันมูลคา
                  2.02 ลานบาท ในขณะที่ปพ.ศ.2549 มีผลผลิตนอยที่สุด 200 เมตริกตัน มูลคา 1.5 แสนบาท

                           3.4.4.3 กลุมแรเพื่อการเกษตร
                           แรโดโลไมต กลุมแรเพื่อการเกษตรในจังหวัดเพชรบุรีพบเพียง 1 ชนิด คือ แรโดโลไมต

                  ครอบคลุมเนื้อที่0.67 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 0.20 ของพื้นที่แหลงแรทั้งหมด เปนแรที่เกิดจาก
                  การแทนที่ของธาตุแมกนีเซียมในหินปูน มีสูตรเคมี CaMg(CO3)2 ผลึกของแรเปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน
                  อาจพบเปนเม็ดหยาบๆ ไปจนกระทั่งเปนเม็ดเล็กๆ เกาะกันแนน ความแข็ง 3.4-4 ถ.พ. 2.85 วาวคลายแกว

                  หรือคลายมุก สีปกติมักจะมีสีออกชมพูสีเนื้อ มีการกําเนิดเชนเดียวกับแรแคลไซตพบในหินปูนโดโลมิติก
                  (dolomitic limestone) หรือในหินออนโดโลมิติก (dolomitic marble) ประโยชนของโดโลไมต
                  ในทางอุตสาหกรรมใชทำแมกนีเซีย ซึ่งเปนวัสดุทนไฟใชสำหรับการบุเตาถลุงเหล็ก และใชใน
                  อุตสาหกรรมทำแกวบางชนิด สวนในทางการเกษตรใชปรับสภาพดินที่เปนกรดและชวยเพิ่มธาตุแมกนีเซียม
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163