Page 157 - Phetchaburi
P. 157

3-81





                  ที่ผานมา (ป พ.ศ. 2541-2551) พบวา ผลผลิตดินขาวของจังหวัดเพชรบุรีมี ผลผลิตโดยรวม 0.19

                  ลานเมตริกตัน มูลคาโดยรวม 185.69 ลานบาท โดยผลผลิตปพ.ศ.2548 มีผลผลิต มากที่สุด 35,157
                  เมตริกตัน มูลคา 33.75 ลานบาท รองลงมาไดแก ปพ.ศ.2547 มีผลผลิต 33,400 เมตริกตัน มูลคา
                  32.06 ลานบาท ในขณะที่ป พ.ศ. 2544 มีผลผลิตนอยที่สุด 3,200 เมตริกตัน มูลคา 3.07 ลานบาท

                           5) ฟลูออไรต
                           ฟลูออไรตในทางการคานิยมเรียกวา ฟลูออสปารมีสูตรทางเคมี CaF2 รูปผลึกมักพบเกิดใน

                  ลักษณะรูปลูกเตา หรืออาจเกิดในลักษณะเนื้อแนน หรือแบบมวลเมล็ดเกาะอัดกันแนน แหลงแรฟลูออไรต
                  จังหวัดเพชรบุรีมีกําเนิดแบบสายแรน้ำรอนเกิดประจุอยูตามรอยแตกหรือรอยเลื่อนในหินชนิดตางๆ
                  (fissure or cavity filling) ซึ่งคลายกับแหลงแรฟลูออไรตสวนใหญของประเทศไทย ประโยชนของ

                  ฟลูออไรตใชเปนเชื้อถลุงในการถลุงเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียมทำอุปกรณกลองจุลทรรศนใชใน
                  อุตสาหกรรมผลิตใยแกวและแกวชนิดตางๆ ผลิตแกสฟรีออน ซึ่งใชในเครื่องทำความเย็นตางๆ
                  อุตสาหกรรมเคมีเชน การเตรียมกรดไฮโดรฟลูออริก นอกจากนี้ยังใชเปนเครื่องประดับไดดวย แหลงแร
                  ฟลูออไรตในจังหวัดเพชรบุรีมีเนื้อที่รวม 43.11 ตารางกิโลเมตร ปริมาณทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพ

                  เปนไปไดเทากับ 1.19 ลานเมตริกตัน พบบริเวณตำบลทาไมรวก และตำบลทาแลงอำเภอทายาง
                  ตำบลแกงกระจาน อำเภอแกงกระจาน และตำบลยางน้ำกลัดเหนือ อำเภอหนองหญาปลอง มีพื้นที่แหลงแร
                  จํานวน 6 แหลง

                           6) แบไรต
                           แรแบไรตมีสูตรเคมี BaSO 4 มีสีขาว เหลือง หรือไมมีสีลักษณะผลึกเปนรูปแบนหนา มีความถวง

                  จําเพาะ 4.5 ซึ่งเปนคุณสมบัติที่เดนเมื่อจับแรแบไรตจะรูสึกหนักมือ ผิดปกติไปจากแรอโลหะอื่นๆ
                  แบไรตเกิดไดหลายแบบ ทั้งในหินอัคนีหินตะกอน และหินแปร แบงออกได 4 ชนิด คือ
                             (1) แหลงแรแบบสายแรและกระเปาะแร โดยแรแบไรตที่เกิดแบบสายแรมักมีเนื้อแนน

                  สีขาวหรือสีเทา และมักเกิดกับแรอื่นๆ หลายชนิด สวนใหญเปนพวกแรซัลไฟด
                             (2) แหลงแรแบบตกคางเดิม เกิดเปนลานแรพลัดเนื่องจากการที่สายแรหรือชั้นแรไดผุพัง
                  แตกกระจัดกระจายอยูในบริเวณสายแรนั้นหรือถูกสายน้ำพัดพาไปสะสมอยูในบริเวณที่ลุมไมไกลจาก
                  สายแรเดิมมากนัก
                             (3) แหลงแรแบบชั้น เปนแหลงแรที่เกิดจากการตกตะกอนของ BaSO4 จากน้ำทะเล

                  บริเวณที่อยูในสภาพรีดักชั่น และ4) แหลงแรแบบสายแรที่เกิดจากการแทนที่ เกิดจากการแทนที่ใน
                  ชั้นหินเดิม สวนใหญมักเกิดในชั้นหินที่สลายตัวทางเคมีไดงาย เชน หินปูนหินโดโลไมต ประโยชนของแบไรต
                  สวนใหญใชในการทำโคลนผง ซึ่งใชในการเจาะสำรวจ นอกจากนี้ยังใชในอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ เชน

                  อุตสาหกรรมเครื่องปนดินเผา กระดาษ ยาง สีฟอกหนัง เคลือบโลหะ เปนตน แหลงแรแบไรตในจังหวัดเพชรบุรี
                  มีพื้นที่แหลงแรจํานวน 1 แหลง ไดแกแหลงแรแบไรตแกงงูเหาเขาพะเนินทุง พบบริเวณบานประตูผี
                  ตำบลหวยแมเพรียง อำเภอแกงกระจาน ครอบคลุมเนื้อที่ 9.91 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณทรัพยากรแร
                  แรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดเทากับ 0.07 ลานเมตริกตันปจจุบันแหลงแบไรตนี้อยูในเขตอุทยาน

                  แหงชาติแกงกระจาน สายแรบริเวณนี้พบแรตะกั่วเกิดรวมเปนชวงๆ ขนาด 2-3 เซนติเมตร นอกจากนี้
                  ยังพบแรซัลไฟดของสังกะสีและทองแดงปะปนอยูเล็กนอย
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162