Page 91 - Lamphun
P. 91

5-9





                  และมาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เข้มข้น จริงจังและต่อเนื่องโดยไม่ควรปลูกพืชไร่หรือพืชที่ต้องมี

                  การไถพรวนดินเพื่อเตรียมพื้นที่ในทุกรอบการปลูก เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้มีความลาดชันสูง
                  เสี่ยงต่อการถูกชะล้างพังทลาย และสูญเสียหน้าดินได้ง่าย ดังนั้นจึงควรแนะน าให้ใช้พื้นที่ในการปลูกไม้ผล
                  หรือไม้ยืนต้น เท่านั้น

                                          - ปรับปรุงแก้ไขสภาพดินปัญหาพร้อมทั้งจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าตามหลัก
                  วิชาการ เพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยการพัฒนาแหล่งน้ า เช่น สร้างบ่อน้ าในไร่นา หรืออาจท าเกษตรแบบ
                  ผสมผสานตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ ส าหรับบริเวณพื้นที่ความลาดชันสูงควรสนับสนุนการปลูกสวนป่า
                  และไม้โตเร็วควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ า เพื่อเป็นการเก็บกักน้ าและความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                                          - ส่งเสริมให้มีการใช้ปุ๋ยและสารปราบศัตรูพืชที่เป็นชีวภาพทดแทนการใช้สารเคมี

                  เนื่องจากสารเคมีจะตกค้างในดินและแหล่งน้ า และจะส่งผลต่อระบบนิเวศของพื้นที่ปลายน้ า
                                (4) เขตพื้นที่พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (สัญลักษณ์แผนที่ 24)
                                    เขตปลูกล าไยเบี้ยวเขียวล าพูน เขตนี้มีเนื้อที่ 30,004 ไร่ หรือร้อยละ 1.07 ของเนื้อที่

                  จังหวัด พืชที่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เป็นสินค้าที่มี
                  ชื่อเสียงและได้รับความนิยม เนื่องจากมีคุณสมบัติพิเศษหรือมีลักษณะเฉพาะที่เกิดจากอิทธิพล
                  สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เช่น สภาพแวดล้อม ดิน ฟ้า อากาศ ของแหล่งภูมิศาสตร์นั้นๆ ตลอดจน
                  ทักษะความช านาญและภูมิปัญญาของกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในแหล่งภูมิศาสตร์นั้นๆ โดยขอบเขตการปลูก

                  ล าไยเบี้ยวเขียวล าพูนตามการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ครอบคลุมพื้นที่ปลูกล าไยในเขตต าบล
                  หนองช้างคืน ต าบลเหมืองง่า ต าบลริมปิง ต าบลอุโมงค์ ต าบลต้นธง และต าบลประตูป่า อ าเภอเมือง
                  ล าพูน จังหวัดล าพูน
                                (5) เขตพัฒนาปศุสัตว์ (สัญลักษณ์แผนที่ 25)

                                    มีเนื้อที่ 4,394 ไร่ หรือร้อยละ 0.16 ของเนื้อที่จังหวัด ปัจจุบันมีสภาพพื้นที่เป็นโรงเรือน
                  เลี้ยงสัตว์ และทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
                                    รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ
                                    - จัดหาแหล่งน้ าหรือขุดสระน้ าในไร่นาเพื่อให้สัตว์มีน้ ากินและปลูกไม้ยืนต้นไว้เป็น

                  ร่มเงาจัดท าโครงการส่งเสริมด้านปศุสัตว์ โดยกรมปศุสัตว์ให้ข้อเสนอแนะวิธีการเลี้ยงสัตว์การปลูกและ
                  ขยายพันธุ์หญ้าพันธุ์ดี การให้อาหารเสริมการผสมพันธุ์และการควบคุมโรคเป็นต้น
                                    - ควบคุมมลภาวะด้านกลิ่น เสียง และน้ าเสียไม่ให้รบกวนและส่งผลกระทบต่อชุมชน

                  และพื้นที่ใกล้เคียงควบคุมและป้องกันโรคระบาดอย่างใกล้ชิดและเข้มงวด ปฏิบัติตามค าแนะน าของ
                  ทางราชการอย่างเคร่งครัด
                                    - ควบคุมมลพิษทางน้ าโดยมีนโยบายให้ผู้ก่อมลพิษต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการ
                  ด าเนินการแก้ไขปัญหาและเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการอย่างเคร่งครัดเพื่อลดความสกปรกปนเปื้อน
                  น้ าเสียลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ

                                (6) เขตพัฒนาการประมง (สัญลักษณ์แผนที่ 26)
                                    มีเนื้อที่ 914 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัด ปัจจุบันมีสภาพพื้นที่เป็นสถานที่
                  เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ได้แก่ สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง สถานที่เพาะเลี้ยงปลา เป็นต้น
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96