Page 90 - Lamphun
P. 90

5-8







                                    3.1) เขตพื้นที่เร่งรัดส่งเสริมการปรับเปลี่ยนการผลิต (สัญลักษณ์แผนที่ 231)
                  มีเนื้อที่ 130,462 ไร่ หรือร้อยละ 4.64 ของเนื้อที่จังหวัด ลักษณะพื้นที่มี่ความเหมาะสมในการผลิตทาง
                  การเกษตรค่อนข้างต่ า หรือไม่เหมาะสมต่อการผลิตสินค้าเกษตร เนื่องจากให้ผลผลิตไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน

                  หรืออาจมีการเสี่ยงต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติ การใช้พื้นที่ท าการเกษตรจ าเป็นต้องมีการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่
                  หรือปรับเปลี่ยนการผลิตพืชให้เหมาะสมตรงตามศักยภาพของที่ดินโดยจ าแนกเป็นกลุ่มย่อยได้ดังนี้
                                          - กลุ่มนำข้ำว มีเนื้อที่ 64,502 ไร่ หรือร้อยละ 2.29 ของเนื้อที่จังหวัด
                                          - กลุ่มพืชไร่ มีเนื้อที่ 27,564 ไร่ หรือร้อยละ 0.98 ของเนื้อที่จังหวัด
                                          - กลุ่มไม้ผล มีเนื้อที่ 3,812 ไร่ หรือร้อยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด

                                          - กลุ่มไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 34,584 ไร่ หรือร้อยละ 1.23 ของเนื้อที่จังหวัด
                                          รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ
                                          - การใช้ที่ดินท าการเกษตรต้องมีการวางแผนการผลิตและการเพาะปลูกที่

                  ตอบสนองต่อสภาพพื้นที่และภูมิอากาศ และเลือกชนิดพืชให้เหมาะสมกับที่ดิน
                                          - ปรับปรุงบ ารุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยการใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ให้
                  ถูกต้องตามลักษณะดิน ในช่วงดินมีความชื้นเหมาะสมควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่ว เพื่อเพิ่ม
                  อินทรียวัตถุแก่ดิน
                                          - ควรปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด
                  เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของดิน และเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ส าหรับพืชร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี

                  ในอัตราที่เหมาะสม
                                          - ในการใช้พื้นที่เพื่อการท านาควรมีการเพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยการพัฒนาแหล่ง
                  น้ า เช่น การสร้างบ่อน้ าในไร่นา เพื่อเก็บกักน้ าส าหรับปลูกพืชลดความเสียหายจากกรณีฝนทิ้งช่วง

                                          - ควรเพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยการใช้เมล็ดพันธุ์/ท่อนพันธุ์ที่ดีจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้
                                          - ควรใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยชีวภาพควบคู่กับการใช้ปุ๋ยเคมีในอัตราที่เหมาะสมตามค่า
                  วิเคราะห์ดิน เพื่อเป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดินทั้งยังเป็นการช่วยลดต้นทุนการผลิตจากค่าปุ๋ยเคมีด้วย
                                          - ส่งเสริมการท าเกษตรแบบเกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎีใหม่ โดยการขุด
                  บ่อน้ าเลี้ยงปลา ยกร่องปลูกผัก ไม้ผล ไม้ยืนต้นและนาข้าวร่วมกัน

                                    3.2) เขตเกษตรกรรมที่ต้องพัฒนาตามหลักวนศาสตร์ร่วมกับระบบอนุรักษ์ดิน
                  และน้ าที่เหมาะสม (สัญลักษณ์แผนที่ 232) เขตนี้มีเนื้อที่ 5,491 ไร่ หรือร้อยละ 0.19 ของเนื้อที่
                  จังหวัด พื้นที่ในเขตนี้ปัจจุบันเป็นบริเวณที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตร ในสภาพพื้นที่ที่มีความ

                  ลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ส่วนใหญ่มีการใช้พื้นที่เพื่อปลูกข้าวโพด ล าไย ยางพารา มะม่วง สัก
                  ยางพารา และยูคาลิปตัส
                                          รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ
                                          - เจ้าหน้าที่/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนที่ท าการเกษตรในพื้นที่ดังกล่าวควร
                  ร่วมกันพิจารณาถึงความเหมาะสม และแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณดังกล่าว เพื่อการสงวนและ

                  อนุรักษ์พื้นที่ให้เป็นเขตป่าต้นน้ าล าธาร โดยการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ หรืออนุโลมให้มีการใช้ประโยชน์
                  เพื่อการเกษตรได้ ส าหรับในกรณีที่มีความจ าเป็นต้องใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรต้องมีแนวทางการจัดการ
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95