Page 128 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 128

4-12





                  หญ้าพันธุ์ดีการให้อาหารเสริมการผสมพันธุ์และการควบคุมโรคเป็นต้น

                                      - ควบคุมมลภาวะด้านกลิ่น เสียง และน้ าเสียไม่ให้รบกวนและส่งผลกระทบต่อชุมชน
                  และพื้นที่ใกล้เคียงควบคุมและป้องกันโรคระบาดอย่างใกล้ชิดและเข้มงวด ปฏิบัติตามค าแนะน าของทาง
                  ราชการอย่างเคร่งครัด

                                      - ควบคุมมลพิษทางน้ าโดยมีนโยบายให้ผู้ก่อมลพิษต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการ
                  ด าเนินการแก้ไขปัญหาและเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการอย่างเคร่งครัดเพื่อลดความสกปรกปนเปื้อน
                  น้ าเสียลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ

                            (5)   เขตพัฒนาการประมง (สัญลักษณ์แผนที่ 26)
                                  มีเนื้อที่ 7,732 ไร่ หรือร้อยละ 0.13 ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซ้อนทับกับ

                  พื้นที่ราชพัสดุประมาณ 48 ไร่ ปัจจุบันมีสภาพพื้นที่เป็นสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า ได้แก่ สถานที่
                  เพาะเลี้ยงปลา สถานที่เพาะเลี้ยงกุ้ง เป็นต้น
                                  รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ
                                   - ต้องปฏิบัติตามนโยบายด้านการใช้พื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอย่างเข้มงวด

                  เนื่องจากกิจกรรมนี้อาจส่งผลกระทบต่อพื้นที่ข้างเคียง
                                   - ควรก าหนดเขตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าให้ชัดเจนเพื่อควบคุมและป้องกันไม่ให้เกิด
                  ผลกระทบต่อระบบนิเวศ

                        4.2.3 เขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
                                มีเนื้อที่ 338,499 ไร่ หรือร้อยละ 5.63 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยเขตชุมชนเมือง

                  ชุมชนชนบท สถานที่ราชการ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ระบบโครงข่ายคมนาคมแหล่งอุตสาหกรรม
                  และสถานที่ที่เกิดจากการกิจกรรมของชุมชน (ที่ทิ้งขยะ) จ าแนกตามข้อมูลจากการส ารวจสภาพ
                  การใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร จากการส ารวจประกอบกับภาพถ่ายทางอากาศและค านวณเนื้อที่ด้วย
                  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ของส่วนวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน

                  กรมพัฒนาที่ดิน (2560)

                        4.2.4 เขตอุตสาหกรรม
                            มีเนื้อที่ 13,736 ไร่ หรือร้อยละ 0.23 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบด้วยเขตพัฒนา
                  อุตสาหกรรม (พื้นที่โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร) เขต

                  อุตสาหกรรมเหมืองแร่ (พื้นที่เหมืองแร่ บ่อขุด บ่อดิน บ่อลูกรัง) และเขตอุตสาหกรรมนาเกลือ
                        4.2.5 เขตแหล่งน้้า

                                มีเนื้อที่ 303,390 ไร่ หรือร้อยละ 5.06 ของเนื้อที่จังหวัด เขตนี้ก าหนดจากแหล่งน้ า
                  ธรรมชาติ (สัญลักษณ์แผนที่ 51) ได้แก่ แม่น้ า ล าคลอง หนอง บึงต่างๆ และแหล่งน้ าที่สร้างขึ้น
                  (สัญลักษณ์แผนที่ 52) ได้แก่ อ่างเก็บน้ าและบ่อน้ า แหล่งน้ าเหล่านี้ใช้ประโยชน์ทั้งทางด้านเก็บกักน้ า

                  เพื่อการอุปโภคบริโภค และใช้ในด้านเกษตรกรรม ตลอดจนเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติและแหล่ง
                  เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าของชุมชน
                                รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการควรดูแลรักษาแหล่งน้ าธรรมชาติและแหล่งน้ าที่
                  สร้างขึ้นไม่ให้เสื่อมโทรมทั้งด้านคุณภาพของน้ าและการกักเก็บน้ า ไม่ปล่อยให้ล าน้ าตื้นเขินและถูกบุกรุก
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133