Page 125 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 125

4-9





                  ไม้ผล ไม้ยืนต้น แต่อาจมีข้อจ ากัดของการใช้ประโยชน์ที่ดินบางประการที่สามารถแก้ไขได้ง่าย บางพื้นที่

                  มีแหล่งน้ าเพียงพออาจมีการใช้พื้นที่เพื่อการปลูกพืชผัก หรือไม้ผลได้ พื้นที่ท าการเกษตรในเขตนี้จะมี
                  เนื้อที่มากที่สุดของลุ่มน้ า และเป็นพื้นที่ส าคัญในการผลิตพืชเศรษฐกิจ พื้นที่เขตนี้สามารถแบ่งเป็น 4
                  เขตย่อย ตามศักยภาพและความเหมาะสมของการใช้ประโยชน์ที่ดินดังนี้

                                  2.1) เขตท้านา (สัญลักษณ์แผนที่ 221) มีเนื้อที่ 2,311,462 ไร่ หรือร้อยละ
                  38.51 ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซ้อนทับกับพื้นที่ราชพัสดุประมาณ 4,731 ไร่ สภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย เนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียวถึงดินร่วน
                  ปนทราย ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางถึงสูงในการท านาโดยอาศัยน้ าฝน
                                        รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ ในการใช้พื้นที่เพื่อการท านาควรมี

                  การเพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยการพัฒนาแหล่งน้ า เช่น บ่อน้ าในไร่นา เพื่อเก็บกักน้ าส าหรับปลูกพืช
                  ลดความเสียหายกรณีฝนทิ้งช่วง และเพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยการใช้พันธุ์ดีจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้
                  ประกอบกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยชีวภาพควบคู่กับการใช้ปุ๋ยเคมีในอัตราที่เหมาะสม หรืออาจท า

                  เกษตรแบบเกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎีใหม่ โดยการขุดบ่อน้ าเลี้ยงปลา ยกร่องปลูกผัก ไม้ผล
                  ไม้ยืนต้น และนาข้าวร่วมกัน

                                  2.2) เขตปลูกพืชไร่ (สัญลักษณ์แผนที่ 222)
                                  มีเนื้อที่ 416,396 ไร่ หรือร้อยละ 6.95 ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซ้อนทับ
                  กับพื้นที่ราชพัสดุประมาณ 893 ไร่ สภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาด เป็นพื้นที่ดอน

                  มีความเหมาะสมของดินในการปลูกพืชไร่ ปัจจุบันมีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกมันส าปะหลัง และ
                  อ้อยโรงงาน
                                        รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ
                                    - ยึดรูปแบบและแนวทางการพัฒนาในเขตท านา

                                    - ศึกษา วิจัยระบบการท าฟาร์ม (Farming system research) ระบบการปลูกพืช
                  หรือระบบเกษตรแบบผสมผสาน โดยน าเทคโนโลยีที่ได้ผลดีในสถานีทดลอง ไปทดสอบหาความเหมาะสม
                  ในไร่นาของเกษตรกรตามสภาพท้องถิ่น เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ที่ดินจากการปลูกพืชชนิดเดียว
                  เป็นการปลูกพืชหลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน

                                  2.3) เขตปลูกไม้ผล/พืชผัก (สัญลักษณ์แผนที่ 223)
                                        มีเนื้อที่ 19,012 ไร่ หรือร้อยละ 0.31 ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซ้อนทับ

                  กับพื้นที่ราชพัสดุประมาณ 228 ไร่ สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินลึกปานกลางถึงลึก มีความ
                  เหมาะสมของที่ดินในการปลูกไม้ผล หรือพืชผักต่างๆ พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ใกล้น้ าหรือสามารถหาแหล่งน้ า
                  ปัจจุบันมีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกมะม่วง และล าไย

                                        รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ
                                        - พื้นที่ที่เหมาะสมต่อการปลูกไม้ผล และพืชผักต่างๆ ควรจัดหาตลาดรองรับ ทั้งนี้
                  ในพื้นที่ลุ่มน้ ามีความเหมาะสมในการผลิตไม้ผล เพื่อจ าหน่ายในตลาดส าหรับบริโภคภายในพื้นที่ลุ่มน้ า
                  เนื่องจากเป็นที่ตั้งของแหล่งชุมชน โดยแนวทางการจัดการด้านการผลิตไม้ผล ควรใช้แนวทางของเกษตร
                  อินทรีย์ เพื่อลดการใช้สารเคมี โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีชีวภาพ มีการจัดสร้าง
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130