Page 123 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 123

4-7





                  ด้วยประการใดๆ ซึ่งอาจเกิดผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารของประเทศ และความเป็นอยู่ของเกษตรกร

                  จึงจ าเป็นต้องรักษา ป้องกันและคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมสนับสนุนการผลิตทางการเกษตรที่สอดคล้อง
                  กับสภาพพื้นที่ เช่น ศักยภาพของที่ดิน แหล่งรองรับผลผลิต ระบบชลประทาน ระบบโลจิสติกส์ โดยแบ่ง
                  พื้นที่เกษตรกรรมที่จ าเป็นต้องคุ้มครอง โดยยึดความเหมาะสมของที่ดินเป็นหลัก เพื่อให้มีผลตอบแทนที่

                  คุ้มค่าต่อการลงทุน เขตคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่รวม 3,808,844 ไร่ หรือร้อยละ 63.45 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด โดยสามารถแบ่งออกเป็น 5 เขตย่อย คือ

                                (1)   เขตพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดี (เขตพื้นที่เศรษฐกิจเพื่อการแข่งขัน)
                                      เขตพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดี มีเนื้อที่ 387,430 ไร่ หรือร้อยละ 6.47 ของเนื้อที่จังหวัด
                  เขตนี้เป็นพื้นที่ท าการเกษตรที่มีระบบชลประทาน ดินมีศักยภาพในการผลิตปานกลางถึงสูงแต่อาจมี

                  ข้อจ ากัดของการใช้ประโยชน์ที่ดินบางประการที่สามารถแก้ไขได้ง่าย บางพื้นที่มีแหล่งน้ าเพียงพออาจมี
                  การใช้พื้นที่เพื่อการปลูกพืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ หรือพืชอายุสั้นหลังฤดูท านาได้ พื้นที่ท าการเกษตร
                  ในเขตนี้จะมีเนื้อที่มากที่สุด และเป็นพื้นที่ส าคัญในการผลิตพืชเศรษฐกิจ พื้นที่เขตนี้สามารถแบ่งเป็น
                  4 เขตย่อย ตามศักยภาพและความเหมาะสมของการใช้ประโยชน์ที่ดินดังนี้

                                      พื้นที่ที่มีศักยภาพทางการเกษตรสูงมีความเหมาะสมสูงส าหรับการท านา ปลูกพืชไร่
                  ไม้ผล ไม้ยืนต้น ให้ผลผลิตสูง มีระบบชลประทาน เป็นเขตจัดรูปที่ดิน (เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมเล็กน้อย
                  แต่อยู่ในเขตชลประทาน) ให้มีการใช้ที่ดินเฉพาะเพื่อการเกษตรอย่างเข้มงวด ไม่ให้เปลี่ยนแปลงไปท า
                  กิจกรรมประเภทอื่นที่จะท าให้สภาพการเกษตรเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง เช่น หมู่บ้านจัดสรร โรงงาน

                  อุตสาหกรรม

                                      1.1) เขตท้านา (สัญลักษณ์แผนที่ 211) มีเนื้อที่ 350,685 ไร่ หรือร้อยละ 6.47
                  ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซ้อนทับกับพื้นที่ราชพัสดุประมาณ 976 ไร่ สภาพพื้นที่ราบเรียบ
                  ถึงค่อนขางราบเรียบ ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางถึงสูงในการท านาโดยอาศัยน้ าจากระบบ
                  ชลประทาน

                                            รูปแบบการพัฒนาและแนวทางการจัดการ ในการใช้พื้นที่เพื่อการท านาควรมี
                  การเพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยการพัฒนาระบบส่งน้ า และแหล่งกักเก็บน้ าขนาดเล็กในไร่นา เพื่อลด
                  ความเสียหายกรณีฝนทิ้งช่วง และเพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยการใช้พันธุ์ดีจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้
                  ประกอบกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยชีวภาพควบคู่กับการใช้ปุ๋ยเคมีในอัตราที่เหมาะสม หรืออาจท า

                  เกษตรแบบเกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎีใหม่ โดยการขุดบ่อน้ าเลี้ยงปลา ยกร่องปลูกผัก ไม้ผล
                  ไม้ยืนต้น และนาข้าวร่วมกัน
                                      1.2) เขตปลูกพืชไร่ (สัญลักษณ์แผนที่ 212) มีเนื้อที่ 10,116 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.17 ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซ้อนทับกับพื้นที่ราชพัสดุประมาณ 37 ไร่ สภาพพื้นที่ราบเรียบ
                  ถึงค่อนข้างราบเรียบเป็นพื้นที่ดอนมีความเหมาะสมของดินในการปลูกพืชได้หลายชนิด ทั้งไม้ผล และ
                  ไม้ยืนต้น แต่เมื่อพิจารณาในด้านการจัดการจึงก าหนดให้เขตนี้เป็นเขตส าหรับการปลูกพืชไร่
                  โดยเฉพาะอ้อยโรงงานซึ่งถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารและพลังงาน
                  แต่ส่วนมากจะประสบปัญหาเรื่องปริมาณผลผลิตที่ไม่สัมพันธ์กับความต้องการของตลาดอันส่งผลถึง

                  ราคาของผลผลิต การตัดสินใจผลิตพืชของเกษตรกรส่วนใหญ่จึงขึ้นอยู่กับราคาตลาด ณ เวลาก่อนท าการผลิต
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128