Page 122 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 122

4-6





                                      ข้อเสนอแนะการใช้พื้นที่ในเขตฟื้นฟูสภาพป่าธรรมชาติ

                                      - ก าหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันมิให้ราษฎรบุกรุกพื้นที่ในเขตนี้ เพื่อ
                  น ากลับมาใช้ด้านการเกษตรรวมทั้งป้องกันมิให้มีการเปิดพื้นที่ป่าเพื่อท าการเกษตรเพิ่ม
                                      - ควรจัดท าแนวกันไฟเพื่อป้องกันไฟป่าที่อาจเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติหรือจาก

                  กิจกรรมของมนุษย์ เพื่อให้ป่าไม้มีการฟื้นตัวตามธรรมชาติที่สมบูรณ์
                                  3) เขตฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เงื่อนไข (สัญลักษณ์แผนที่ 123)  เขตนี้มี

                  เนื้อที่ 148,115 ไร่ หรือร้อยละ 2.46 ของเนื้อที่จังหวัด โดยเขตนี้มีพื้นที่ซ้อนทับกับพื้นที่ราชพัสดุ
                  ประมาณ 172 ไร่ พื้นที่ในเขตนี้ปัจจุบันเป็นบริเวณที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวโพด และ
                  พืชไร่ (ไร่หมุนเวียน)

                                      ข้อเสนอแนะการใช้พื้นที่ในเขตฟื้นฟูสภาพป่าธรรมชาติ
                                  - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
                  เรื่อง มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาที่ดินป่าไม้ โดยมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตาม
                  กฎหมาย เช่น เขตอุทยานแห่งชาติ และพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี ก าหนดให้กรมป่าไม้ส ารวจ
                  พื้นที่ที่มีการครอบครองให้ชัดเจน

                                  - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2540
                  เรื่อง แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่ เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน
                  และป่าไม้อย่างมีระบบโดยให้มีการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาที่ยั่งยืน และสงวนรักษาไว้ซึ่งทรัพยากร
                  ป่าไม้ที่เหลืออยู่รวมถึงฟื้นฟูป่าที่เสื่อมสภาพ โดยต้องอยู่บนหลักในการลดปัญหาความขัดแย้งของการใช้

                  ทรัพยากรในพื้นที่
                                  - ควรเพิ่มมาตรการในการอนุรักษ์ที่เข้มงวด จริงจังและต่อเนื่อง เพื่อคงสภาพป่าไม้ให้มี
                  ความสมบูรณ์ โดยการพัฒนาด้านต่างๆ ต้องค านึงถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศและผลกระทบต่อ
                  พื้นที่ลุ่มน้ าด้านล่าง โดยเฉพาะแนวทางจัดการให้พื้นที่ป่าไม้เป็นตัวควบคุมปริมาณน้ าในลุ่มน้ าในเวลาที่

                  เหมาะสม เช่น การสร้างฝายชะลอน้ าในบริเวณที่เหมาะสม
                                  - ควรเร่งปลูกป่าทดแทนและฟื้นฟูสภาพป่าเพื่อรักษาระบบนิเวศลุ่มน้ าบริเวณพื้นที่ที่
                  มีความลาดชันสูง และพื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย โดยเพิ่มมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม

                  เช่น การปลูกหญ้าแฝกและสร้างฝายชะลอน้ า เป็นต้น
                                  - ควรส่งเสริมและรณรงค์ให้ราษฎรในพื้นที่เห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้ และ
                  มีส่วนร่วมในการดูแลและบ ารุงรักษาผืนป่าในพื้นที่ร่วมกัน

                        4.2.2 เขตพื้นที่เกษตรกรรม ได้แก่ พื้นที่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมาย ซึ่ง
                  รัฐได้ก าหนดเป็นพื้นที่ท ากินมีการออกเอกสารสิทธิ์รวมถึงพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.)

                  ที่ดินเอกชน แปลงที่ดินท ากินตามนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศ
                  เกษตรกรรม ที่ดินจึงเป็นปัจจัยส าคัญและเป็นรากฐานของการผลิตทางการเกษตร ซึ่งจ าเป็นต้อง
                  บ ารุงรักษาและฟื้นฟูดิน รวมทั้งพัฒนาให้เหมาะสมแก่การประกอบการเกษตรได้อย่างยั่งยืนและน าไปสู่
                  การเป็นแหล่งผลิตอาหารที่ส าคัญของโลก และจากผลของการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน ท าให้มี
                  การน าที่ดินที่เหมาะสมกับการเกษตรไปใช้เพื่อกิจกรรมอื่นๆ หรือเป็นเจ้าของที่ดินแทนคนต่างด้าว
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127