Page 93 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 93

4-11





                                (2) พัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มเติม เช่น บ่อน้ าขนาดเล็กในไร่นา รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน้ า

                  ตามธรรมชาติ ให้สามารถกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น เพื่อใช้ส าหรับปลูกพืช เพื่อลดความเสียหายจากกรณี
                  ฝนทิ้งช่วง
                                (3) คัดเลือกข้าวพันธุ์ดีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และท าการเกษตรโดยยึดแนวทาง

                  เกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎีใหม่และเกษตรพอเพียงเพื่อการค้าและการบริโภค
                              2) เขตปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 148,439 ไร่ หรือร้อยละ 2.20 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ใน

                  เขตนี้เป็นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเนินเขา เป็นดินตื้นถึงดินลึกปานกลางที่มีลูกรัง กรวดหินปะปน
                  การระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ดินต่ า บางบริเวณเป็นดินตื้นถึงชั้นหินพื้นซึ่งส่งผลต่อการ
                  ชอนไชของรากพืช มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่เหมาะสมส าหรับปลูกพืชไร่ พื้นที่ในเขตนี้ก าหนดให้เป็น

                  เขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไร่ในเขตนี้อาศัยน้ าฝนเป็นหลัก สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่
                  เป็นพืชไร่ เช่น พืชไร่ผสม ข้าวโพด อ้อย ขิง และกะหล่ าปลี ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในทุกอ าเภอ
                  ของจังหวัด พบมากที่อ าเภอบางระก า และอ าเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                (1) ควรมีการปรับปรุงบ ารุงดินโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่ม
                  ธาตุอาหารและปรับโครงสร้างของดิน
                                (2) ควรเร่งพัฒนาระบบชลประทานเพื่อปรับรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการ
                  ปลูกพืชไร่มาเป็นการปลูกไม้ผลหรือพืชผัก

                                (3) ควรท าการเพาะปลูกพืชในช่วงระยะเวลาที่ดินมีความชื้นที่เหมาะส าหรับพืช
                                (4) ปรับปรุงคุณภาพของดินให้มีความอุดมสมบูรณ์และลักษณะทางกายภาพ
                  ของดินที่เหมาะสมส าหรับการปลูกพืช โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ต่างๆ เช่น ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก ซึ่งช่วยในการ
                  ปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ดีขึ้น

                                (5) ด าเนินการพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กในพื้นที่เขตนี้ รวมทั้งการปรับปรุง
                  ประสิทธิภาพแหล่งน้ าตามธรรมชาติ เช่น เหมือง ฝาย ล าคลองสาธารณะ ให้มีการกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น

                              3)  เขตปลูกไม้ผล มีเนื้อที่ 39,296 ไร่ หรือร้อยละ 0.58 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  ในเขตนี้เป็นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเนินเขา การระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ดินต่ า
                  บางบริเวณเป็นดินลึกปานกลางหรือตื้นถึงชั้นลูกรัง ชั้นหินพื้นซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบรากพืช มีความ

                  เหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกไม้ผล สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นไม้ผล
                  เช่น ไม้ผลผสม เงาะ มะม่วง กล้วย มะขาม ล าไย มะปราง และมะยงชิด ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ใน
                  อ าเภอวังทอง อ าเภอวัดโบสถ์ อ าเภอชาติตระการ อ าเภอนครไทย และพบมากสุดที่อ าเภอเนินมะปราง

                  จังหวัดพิษณุโลก
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ปรับปรุงบ ารุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยชีวภาพควบคู่กับการใช้
                  ปุ๋ยเคมี ซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย ร่วมกับการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกัน

                  การชะล้างพังทลายของดินและรักษาความชุ่มชื้นของดิน เช่น การปลูกหญ้าแฝก
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98