Page 94 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 94

4-12





                                (2) ส่งเสริมการท าเกษตรอินทรีย์ การผลิตพืชปลอดสารพิษ ลดการใช้สารเคมี โดย

                  การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มมูลค่าของผลผลิต
                                (3) พัฒนาศักยภาพการผลิต โดยควบคุมกระบวนการผลิตไม้ผลให้ถูกต้องตาม
                  ระบบ GAP จัดการดินและใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน โดยใช้โปรแกรมค าแนะน าการจัดการดินและปุ๋ย

                  โปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืช รวมถึงการใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชอย่างถูกต้องปลอดภัย
                                (4) พัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต เช่น บ่อน้ าขนาดเล็กในไร่นา
                  รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน้ าตามธรรมชาติ ให้สามารถกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น เพื่อใช้ส าหรับปลูกพืชเพื่อลดความ
                  เสียหายจากกรณีฝนทิ้งช่วง
                                (5) ควรท าทางระบายน้ าบริเวณที่เป็นที่ค่อนข้างลุ่ม เพื่อไม่ให้น้ าท่วมขัง

                                (6) ควบคุมคุณภาพและสารตกค้างของผลผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ก าหนด
                  โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลไม้ส่งออกต่างประเทศ
                                (7) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรแต่ละสายการผลิต

                  เพื่อให้มีการอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ปรับปรุงขบวนการและขั้นตอนการผลิต
                  เพื่อเป็นการเพิ่มคุณภาพและผลผลิตให้สูงขึ้น

                              4) เขตปลูกไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 49,946 ไร่ หรือร้อยละ 0.74 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สภาพพื้นที่ในเขตนี้เป็นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเนินเขา การระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความ
                  อุดมสมบูรณ์ดินต่ า บางบริเวณเป็นดินลึกปานกลางหรือตื้นถึงชั้นลูกรัง ชั้นหินพื้นซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบ

                  รากพืช มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกยืนต้น สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วน
                  ใหญ่เป็นไม้ยืนต้น เช่น ไม้ยืนต้นผสม ยางพารา ปาล์มน้ ามัน สัก ยูคาลิปตัส ไผ่ สะเดา กฤษณา และตะกู
                  ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในอ าเภอวังทอง อ าเภอวัดโบสถ์ อ าเภอชาติตระการ อ าเภอนครไทย และ
                  อ าเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก

                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควรก าหนดให้เป็นพื้นที่เร่งรัดการพัฒนาที่ดินเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตให้ดีขึ้น
                  โดยปรับปรุงบ ารุงดินที่เป็นทราย ดินมีกรวดหินปะปนและความอุดมสมบูรณ์ต่ า ด้วยอินทรียวัตถุและ

                  ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับการปลูกพืชตระกูลถั่วและไถกลบลงในดิน
                                (2) ใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรมควบคู่กับการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า เช่น ปลูกแฝก
                  เป็นแถบตามแนวระดับขวางความลาดเท เพื่อลดปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน
                                (3) สนับสนุนการปลูกป่าและไม้โตเร็ว ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ า
                                (4) พัฒนาแหล่งน้ าและส่งเสริมการท าเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจ

                  พอเพียง โดยเน้นการปลูกพืชให้หลากหลายชนิด ทั้งพืชไร่ พืชผัก ไม้ผลและไม้ยืนต้น
                                (5) ฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณที่ถูกท าลายให้สามารถน ากลับมาใช้ประโยชน์ในด้าน
                  การเกษตร โดยการปรับพื้นที่และปล่อยให้เป็นทุ่งหญ้าธรรมชาติหรือปลูกไม้ยืนต้น

                          2.4   เขตปศุสัตว์ มีเนื้อที่ 7,053 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า

                  เลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ เช่น โค กระบือ ม้า สัตว์ปีก และสุกร ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ใน
                  ทุกอ าเภอของจังหวัดพิษณุโลก
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99