Page 96 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 96

4-14






                          3.2  เขตอุตสาหกรรม มีเนื้อที่ 14,896 ไร่ หรือร้อยละ 0.22 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่
                  โรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่อุตสาหกรรมที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร และ
                  เหมืองแร่ ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในทุกอ าเภอของจังหวัดพิษณุโลก
                              รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                              (1) ควบคุมมลพิษทางน้ าจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยการจัดท าระบบการบ าบัดน้ าเสีย
                  ที่ถูกต้องและก าหนดนโยบายให้ผู้ก่อมลพิษต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการด าเนินการแก้ไขปัญหาและ
                  เสียค่าใช่จ่ายในการจัดการมลพิษ
                              (2) หมั่นตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบบ าบัดน้ าเสียของโรงงาน และควบคุม
                  การระบายน้ าเสียอย่างเคร่งครัด เพื่อลดความสกปรกของน้ าก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ

                              (3) ส่งเสริมและผลักดันให้สถานประกอบการทุกขนาดเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวที่เป็น
                  มิตรกับสิ่งแวดล้อม
                              (4) ผลักดัน ส่งเสริมและสนับสนุนการท ากิจกรรมCorporate Social Responsibility

                  (CSR) ของผู้ประกอบการโรงงาน เพื่อประโยชน์สุขแก่องค์กรและสังคมอันน าไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนและ
                  สังคมอยู่ด้วยกันอย่างปกติสุข
                              (5) ควบคุมให้ผู้ประกอบการกิจการเหมืองแร่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแร่หรือกฎหมาย
                  ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัดหมั่นตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบบ าบัดน้ าเสียของเหมืองแร่และควบคุม

                  การระบายน้ าเสียเพื่อลดความสกปรกของน้ าก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ
                              (6) ส่งเสริมการท าอุตสาหกรรมแร่สีเขียวสะอาดตั้งแต่ต้นจนจบ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                  ที่ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดโดยการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่ มีมาตรการที่ดีและ
                  ปฏิบัติตามมาตรการ เงื่อนไข ระเบียบและกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด

                              (7) ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการท าเหมืองแร่ ตลอดจนการฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการท าเหมืองแร่ให้มีการใช้
                  ประโยชน์ตามศักยภาพของพื้นที่และความต้องการของชุมชน

                        4. เขตแหล่งน้่า

                          มีเนื้อที่ 129,598 ไร่ หรือร้อยละ 1.92 ของเนื้อที่จังหวัด เขตแหล่งน้ า ประกอบด้วย แม่น้ า
                  ล าคลอง ทะเลสาบ หนองบึง อ่างเก็บน้ า บ่อน้ าในไร่นา และคลองชลประทาน แหล่งน้ าเหล่านี้ใช้
                  ประโยชน์ทั้งทางด้านเก็บกักน้ า และการระบายน้ าเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค ด้านเกษตรกรรม
                  ตลอดจนเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าของชุมชน เขตแหล่งน้ าสามารถแบ่งได้
                  เป็น 2 เขต คือ

                          4.1  เขตแหล่งน้่าตามธรรมชาติ มีเนื้อที่ 70,285 ไร่ หรือร้อยละ 1.04 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ได้แก่ แม่น้ า ล าคลอง ล าคลอง หนอง ทะเลสาบ และบึงต่างๆ
                              รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                              ดูแลรักษาแหล่งน้ าธรรมชาติไม่ให้เสื่อมโทรมทั้งด้านคุณภาพของน้ าและการกักเก็บน้ า
                  ไม่ปล่อยให้ล าน้ าตื้นเขินและถูกบุกรุกหมั่นขุดลอกคูคลอง ไม่ทิ้งขยะ และน้ าเสียลงในแหล่งน้ า เร่งรัด
                  พัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กให้มีจ านวน และการกระจายมากขึ้น เพื่อช่วยในการอุปโภคบริโภคและ
                  การเพาะปลูกในช่วงขาดน้ า
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101