Page 92 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 92

4-10





                  พื้นที่ในรูปแบบต่างๆ เพื่อป้องกันปัญหาน้ าท่วม เช่น การท าคันดิน การยกร่องและการพูนโคน เป็นต้น

                  สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่ไม้ยืนต้น เช่น ไม้ยืนต้นผสม ยางพารา ปาล์มน้ ามัน สัก ยูคาลิปตัส
                  ไผ่ สะเดา กฤษณา และตะกู ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในทุกอ าเภอของจังหวัด และพบมากใน
                  เขตอ าเภอวังทอง อ าเภอวัดโบสถ์ อ าเภอนครไทย และอ าเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก

                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ปรับปรุงบ ารุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก
                  ปุ๋ยหมัก หรือผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพ
                                (2) ควรจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ
                  รักษาความชุ่มชื้นของดิน เช่น การปลูกหญ้าแฝก

                                (3) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรแต่ละสายการผลิต
                  เพื่อให้มีการอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ปรับปรุงขบวนการและขั้นตอนการผลิต
                  เพื่อเป็นการเพิ่มคุณภาพและผลผลิตให้สูงขึ้น

                                (4) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกร เพื่อเพิ่มอ านาจการต่อรอง
                  ในการขายผลผลิตให้ได้ราคายุติธรรม

                          2.3  เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่่า มีเนื้อที่ 243,455 ไร่ หรือร้อยละ 3.61
                  ของเนื้อที่จังหวัด เป็นพื้นที่ท าการเกษตรโดยอาศัยน้ าฝนในการเพาะปลูก บริเวณที่มีสภาพพื้นที่เป็น
                  ที่ดอนมีการปลูกพืชไร่ และไม้ยืนต้น บางพื้นที่มีการปลูกข้าวโดยการท าคันนา ดินมีความเหมาะสมน้อย

                  (S3) ส าหรับการท าการเกษตร ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า บางแห่งเป็นดินตื้นและมีกรวดหิน
                  ปะปนมาก การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตท าได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากมีข้อจ ากัดหลายด้าน เป็นเขตที่มี
                  ปัญหาด้านความเสื่อมโทรมของทรัพยากร รัฐจึงควรก าหนดให้เป็นพื้นที่เป้าหมายแรกในการเร่งรัดฟื้นฟู
                  คุณภาพดินและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขึ้น เขตเกษตรกรรมที่มี

                  ศักยภาพการผลิตต่ า สามารถแบ่งได้เป็น 4 เขตย่อย ได้แก่ เขตท านา เขตปลูกพืชไร่ เขตปลูกไม้ยืนต้น
                  และเขตปลูกไม้ผล โดยมีรายละเอียดดังนี้

                              1) เขตท านา มีเนื้อที่ 5,774 ไร่ หรือร้อยละ 0.09 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ใน
                  เขตนี้เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน เป็นดินที่ดอน มีเนื้อดินเป็นดินร่วนละเอียด เป็นดินลึกถึง
                  ลึกปานกลาง บางบริเวณเป็นดินตื้น มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ าถึง

                  ปานกลาง มีการท าคันนาเพื่อใช้เพาะปลูกข้าว มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่มีความเหมาะสมส าหรับ
                  การปลูกข้าว สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันเป็นนาข้าว พื้นที่เขตนี้ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูก
                  ข้าวโดยอาศัยน้ าฝนเป็นหลัก ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในอ าเภอเนินมะปราง อ าเภอวังทอง อ าเภอ

                  วัดโบสถ์ อ าเภอชาติตระการ และอ าเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควรปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือ
                  ปุ๋ยพืชสด เพื่อช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดิน และเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ส าหรับพืช ร่วมกับการใส่

                  ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97