Page 88 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 88

4-6





                          2.1  เขตเกษตรกรรมชั้นดี มีเนื้อที่ 730,386 ไร่ หรือร้อยละ 10.81 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่

                  เขตเกษตรกรรมนี้ เป็นบริเวณที่อยู่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมายหรือเป็นพื้นที่
                  ที่ได้รับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เขตเกษตรกรรมนี้ เกษตรกรมีการใช้พื้นที่ด้านการท า
                  เกษตรกรรมเป็นหลักเป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตชลประทานโครงการส่งน้ าและบ ารุงรักษาพลายชุมพล

                  โครงการส่งน้ าและบ ารุงรักษาเขื่อนนเรศวร โครงการส่งน้ าและบ ารุงรักษาเขื่อนแควน้อยบ ารุงแดน
                  โครงการส่งน้ าและบ ารุงรักษายม-น่าน โครงการฝายบางบ้า โครงการประตูระบายน้ าแม่น้ ายม (บ้านหาด
                  สะพานจันทร์) โครงการเขื่อนระบายน้ าวัดตายม โครงการเขื่อนระบายน้ าวัดตายม โครงการประตูระบาย
                  น้ าแคววังทอง โครงการทดน้ าและระบายน้ าวังน้ าใส ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์จากการส่งน้ าช่วยในการ
                  ปลูกพืช โดยเฉพาะเวลาฝนทิ้งช่วงและช่วยระบายน้ าในช่วงฤดูน้ าหลาก หรือเป็นเขตที่มีการปลูกพืช GI

                  ของไทย (สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์) ซึ่งพืช GI ของจังหวัดพิษณุโลก ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมทรัพย์สินทาง
                  ปัญญา กระทรวงพาณิชย์  ได้แก่ กล้วยตากบางกระทุ่ม มีชั้นความเหมาะสมในการปลูกพืชสูง (S1)
                  ถึงปานกลาง (S2) เขตเกษตรกรรมนี้มีศักยภาพสูงในการผลิตและสามารถพัฒนาการผลิตทั้งทาง

                  ด้านคุณภาพและปริมาณ เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลผลิตให้สูงขึ้นได้มากกว่าเขตอื่นในพื้นที่จังหวัด
                  เขตเกษตรกรรมชั้นดี สามารถแบ่งได้เป็น 4 เขตย่อย ได้แก่ เขตท านา เขตปลูกพืชไร่ เขตปลูกไม้ผล
                  และเขตปลูกไม้ยืนต้น โดยมีรายละเอียดดังนี้

                              1) เขตท านา มีเนื้อที่ 710,965 ไร่ หรือร้อยละ 10.52 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ใน
                  เขตนี้เป็นพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินในที่ลุ่มมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว

                  ถึงดินร่วน เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ าเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง บางบริเวณเป็น
                  ดินที่ดอน มีเนื้อดินเป็นดินทรายแป้งถึงดินร่วนที่มีการท าคันนาเพื่อใช้เพาะปลูกข้าว ดินมีความเหมาะสม
                  ปานกลางถึงสูงส าหรับการท านา สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันเป็นนาข้าว พื้นที่เขตนี้ก าหนดให้เป็น
                  เขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกข้าวที่อาศัยระบบชลประทาน ส่วนใหญ่พบในเขตอ าเภอพรหมพิราม

                  อ าเภอเมืองพิษณุโลก อ าเภอบางกระทุ่ม อ าเภอบางระก า และอ าเภอวังทองเป็นบางส่วน

                              2) เขตปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 12,115 ไร่ หรือร้อยละ 0.18 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อดินเป็นดินร่วนถึง
                  ดินทรายแป้ง เป็นดินลึก มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง มีความ
                  เหมาะสมปานกลางถึงสูงส าหรับการปลูกพืชไร่ สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นพืชไร่ เช่น

                  ข้าวโพด อ้อย และมันส าปะหลัง พื้นที่เขตนี้ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไร่ที่อาศัย
                  ระบบชลประทาน ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในเขตอ าเภอพรหมพิราม อ าเภอเมืองพิษณุโลก อ าเภอ
                  บางกระทุ่ม อ าเภอบางระก า และอ าเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก

                              3) เขตปลูกไม้ผล มีเนื้อที่ 4,136 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  ในเขตนี้เป็นพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินร่วน

                  หรือดินทรายแป้ง เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง
                  มีความเหมาะสมปานกลางถึงสูงส าหรับปลูกไม้ผล บางบริเวณเป็นที่ลุ่มซึ่งมีการจัดการพื้นที่ในรูปแบบ
                  ต่างๆ เพื่อป้องกันปัญหาน้ าท่วม เช่น การท าคันดิน การยกร่องและการพูนโคน เป็นต้น สภาพการใช้

                  ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นไม้ผล เช่น กล้วย มะม่วง กระท้อน พุทรา ไม้ผลผสม มะขาม และมะพร้าว
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93