Page 200 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 200

5-10





                                    (3)   เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 213) มีเนื้อที่ 853 ไร หรือรอยละ 0.31

                          ่
                          ี
                                       
                                                                                                      ิ
                  ของเนื้อทจังหวัดกาฬสินธุ ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดน
                  ลึก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินใน
                  ปจจุบันสวนใหญเปนไมผลที่พบมาก เชน มะมวง สมโอ มะพราว และกลวยหอมทอง เปนตน พื้นที่เขตนี้
                   ี
                  มศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพืชผัก ทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได
                                    (4)   เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 214) มีเนื้อที่ 6,510 ไร หรือรอยละ
                  0.15 ของเนื้อทจังหวัดกาฬสินธุ ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                               ่
                               ี
                                                                                                      ิ
                  เปนดินลึก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชท่ดน
                                                                                                    ี
                  ในปจจุบันสวนใหญเปนไมยืนตน เชน ยางพารา สะเดา กระถินเทพา เปนตน พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพ
                  ปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพืชผัก สามารถปรับเปลี่ยนทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได
                                    (5)   เขตปลูกพืชสวน (หนวยแผนที่ 215) มีเนื้อที่ 279 ไร หรือรอยละ
                               ี
                  0.01 ของเนื้อทจังหวัดกาฬสินธุ ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                               ่
                                                                                                      ิ
                                                                                                    ี
                  เปนดินลึก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชท่ดน
                                                                                         ั
                  ในปจจุบันสวนใหญเปนพืชผักทพบมาก คือ มะเขือเทศ และผักกาด เปนตน พื้นที่เขตนี้มีศกยภาพปานกลาง
                                           ี่
                  ถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือไมยืนตน สามารถปรับเปลี่ยนทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได
                                    (6)   เขตปศุสัตว (หนวยแผนที่ 218) มีเนื้อที่ 910 ไร หรือรอยละ 0.02
                  ของเนื้อที่จังหวัดกาฬสินธุ ในเขตนี้สภาพการใชที่ดินที่พบเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวและดินมีความ
                   ุ
                  อดมสมบูรณปานกลาง มสภาพพ้นท่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด หญาเปน
                                        ี
                                               ื
                                                  ี
                  อาหารของสัตวหลายชนิด ไมเฉพาะแตวัว ควาย แพะ แกะ ซึ่งเปนสัตวใหญ สัตวตัวเล็ก ๆ เชน กระตาย
                  หรือหนูบางชนิด ก็กินหญาเชนเดียวกัน บางครั้งแมวหรือสุนัขเล็มยอดหญาเพื่อเปนยารักษาตัวสัตว
                  เอง การปลูกหญาทำทุงเลี้ยงสัตวใหมีคุณภาพที่เอื้อประโยชนแกสัตว เปนเรื่องที่ใชความรู ทั้งดานพืช ดิน
                  ปุย รวมทั้งการเลี้ยง และดูแลสัตวดวย พื้นที่ที่จะใชปลูก อาจทำไดในพื้นที่ขนาดตาง ๆ เชน อาจปลูก
                  แบบหญาสวนครัว ในพื้นที่ที่วาง สำหรับตัดใหสัตวกิน หรือปลูกเปนทุงใหญ สำหรับปลอยสัตวเขาไป
                  แทะเล็ม หรืออาจปลูกผสมผสานแซมในสวนไมผล เชนตาลโตนด มะพราว อินทผลัม แลวเลี้ยงสัตว

                  ควบคูกันไป ทำใหเกิดรายไดเสริมแกผูเลี้ยงสัตวไปในตัว นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมดานการปลูก
                                                                                             
                  พืชแลว เกษตรกรยังเลี้ยงสัตวควบคูกันไปดวย โดยสัตวที่นิยมเลี้ยง ไดแก โค กระบือ หรือแพะ
                  วัตถุประสงคของการเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อจำหนาย ซึ่งม ี

                  ความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพื่อเปนแหลงอาหารของสัตวดังกลาว
                                    (7)   เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ (หนวยแผนที่ 219) มีเนื้อที่ 10,052 ไร
                  หรือรอยละ 0.23 ของเนื้อที่จังหวัดกาฬสินธุ ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                                                                                                     ั
                                                                                             ี
                                                               
                  ราบเรียบ ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึก มีการระบายน้ำคอนขางเลว การเลี้ยงสัตวน้ำนับไดวามความสำคญ
                  ในวัฏจักรของสัตวน้ำ และเปนเวลาที่ยาวนานกวาการเพาะและอนุบาลสัตวน้ำ การเลี้ยงที่ดี
                  จำเปนตองอาศัยการดูแลใหถูกวิธี เลี้ยงถูกขั้นตอนและประหยัดตนทุน ผลิตสัตวน้ำที่มีคุณภาพ สามารถ
                  จำหนายไดในราคาที่ดีสงผลใหประสบความสำเร็จในการเลี้ยง ซึ่งจะมีขั้นตอนระบบ ประเภทและลักษณะ
                  ของการเลี้ยงแตกตางกันออกไป นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมปลูกพืชแลว เกษตรกรยังทำประมง

                                                       
                  ควบคูกันไปดวย โดยปลาที่นิยมเลี้ยงไดแก กุงกามกราม ปลานิลในกระชัง ปลาดุก ปลาหมอไทย
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205