Page 203 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 203

5-13





                                                                          ื
                                                                          ้
                  รวมทั้งการเลี้ยง และดูแลสัตวดวย พื้นที่ที่จะใชปลูก อาจทำไดในพนที่ขนาดตาง ๆ เชน อาจปลูกแบบ
                  หญาสวนครัว ในพื้นที่ที่วาง สำหรับตัดใหสัตวกิน หรือปลูกเปนทุงใหญ สำหรับปลอยสัตวเขาไปแทะเล็ม
                  หรืออาจปลูกผสมผสานแซมในสวนไมผล เชนตาลโตนด มะพราว อินทผาลัม แลวเลี้ยงสัตวควบคูกนไป
                                                                                                    ั
                  ทำใหเกิดรายไดเสริมแกผูเลี้ยงสัตวไปในตัว นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมดานการปลูกพืชแลว

                  เกษตรกรยังเลี้ยงสัตวควบคูกันไปดวย โดยสัตวที่นิยมเลี้ยง ไดแก โค หรือกระบือ วัตถุประสงคของ
                  การเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อจำหนายและเลี้ยงไวใชแรงงาน
                  ซึ่งมีความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพอเปนแหลงอาหารของสัตวดังกลาว
                                                 ื่
                                                                              ี
                                    (8)   เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ (หนวยแผนท่ 229) มีเนื้อท่ 9,184 ไร หรือ
                                                                                          ี
                  รอยละ 0.21 ของเนื้อที่จังหวัดกาฬสินธุ ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินท ่ ี
                  พบสวนใหญเปนดินลึก มีการระบายน้ำคอนขางดี การเลี้ยงสัตวน้ำนับไดวามีความสำคัญในวัฏจักรของ
                  สัตวน้ำ และเปนเวลาที่ยาวนานกวาการเพาะและอนุบาลสัตวน้ำ การเลี้ยงที่ดีจำเปนตองอาศัยการ
                  ดูแลใหถูกวิธี เลี้ยงถูกขั้นตอนและประหยัดตนทน ผลิตสัตวน้ำที่มีคุณภาพ สามารถจำหนายไดในราคาท่ ี
                                                         ุ
                  ดีสงผลใหประสบความสำเร็จในการเลี้ยง ซึ่งจะมีขั้นตอนระบบ ประเภทและลักษณะของการเลี้ยง
                  แตกตางกันออกไป นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมปลูกพืชแลว เกษตรกรยังทำประมงควบคูกันไปดวย
                          ี
                                                                                                     ั
                  โดยปลาท่นิยมเลี้ยงไดแกปลานิล ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาสวาย วัตถุประสงคของการเลี้ยงที่สำคญ
                                                                                                  ี่
                                                                                             ี
                                                                     
                                                                                               ื้
                                                         ื่
                  คือ เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพอจำหนายในทองถิ่น ซึ่งมีความจำเปนตองมพนทในเขต
                  นี้เพื่อเปนแหลงอาหารประเภทโปรตีน
                                    ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่
                                    - ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก
                  หรือปุยพืชสด เพื่อชวยปรับปรุงโครงสรางของดินเพิ่มการอุมน้ำของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เปน
                  ประโยชนสำหรับพืช รวมกับการใสปุยวิทยาศาสตรในอัตราสวนที่เหมาะสม
                                                                                                ั
                                    - ควรมีการปรับสภาพพื้นที่ในแปลงนาขาว เพื่อควบคุมระดับการขงของน้ำ
                  ในระหวางการเพาะปลูกใหเหมาะสม
                                    - ปรับปรุงประสิทธิภาพแหลงน้ำตามธรรมชาติใหมีการกักเก็บน้ำไดดีขึ้น

                                    - ควรเพิ่มกิจกรรมการผลิต พืช ปศุสัตว ประมง ใหมีความเกื้อกูลกัน
                                                              ั
                                              ิ
                                                                                    ื
                                                                                            ั
                                    - พจารณาดำเนินการพฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในพนท รวมทงการปรับปรุง
                                                                                    ้
                                                                                       ี
                                                                                       ่
                                                                                            ้
                  ประสิทธิภาพแหลงน้ำตามธรรมชาติใหมีการกกเก็บน้ำไดดีขึ้น
                                                       ั
                                                                           ื
                                    - ควรพัฒนาสระน้ำในไรทมีขนาดพื้นที่ถอครอง เทากับหรือมากกวา 10 ไร
                                                                ี่
                                    - ควรมีการขุดลอกคลองและเพิ่มทอลอดตามถนนสายหลักที่สรางขวาง
                  ทางเดินน้ำ เพื่อการระบายน้ำในพื้นที่ปลูกขาวเปนไปอยางรวดเร็ว ไมใหเกิดน้ำแชขังเปนเวลานานจน
                  ขาวเสียหาย
                                  3) เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่ำ มีเนื้อที่ 788,925 ไร หรือรอยละ
                  18.17 ของพื้นทจังหวัดกาฬสินธุ พื้นที่เขตนี้ถูกกำหนดใหเปนเขตการเกษตร ที่ตองมีการดำเนินการ
                                              
                                ่
                                ี
                                                                                             ิ
                              ่
                  แกไขปญหาทีเปนขอจำกัดของการใชที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตาง ๆ เชน ดินคอนขางเปนดนทราย ดิน
                  ตื้น เนื้อดินปนกรวด ซึ่งมีผลตอความสามารถในการอุมน้ำที่เปนประโยชนตอพืชต่ำ รวมทั้ง
                                    ื
                  ปริมาณธาตุอาหารพชในดินมีปริมาณต่ำ โดยผลการประเมินความเหมาะสมของที่ดินเขตนี้สำหรับการ
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208