Page 199 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 199

5-9





                       ี
                  เปนท่รกราง แตเนื่องจากพื้นที่นี้มีลูกไมของพันธุไมดั้งเดิม ถาไมมีการรบกวนพื้นที่โดยเฉพาะอยางยิ่งกับ
                  การใชที่ดินดังกลาวเพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาไมก็สามารถกลับฟนตัวขึ้นมาเปนปาไมที่สมบูรณ 
                  ไดอีกครั้ง
                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่

                                        ชุมชนควรมีมาตรการในการปองกันรักษาสภาพปาไมที่สมบูรณ          
                                                                                                       ี
                                                                                                       ่
                  ใหคงสภาพดังกลาวไว เพื่อใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ และการใชประโยชนรวมกันของพื้นท
                  ในขณะเดียวกันหนวยงานของรัฐบาลที่มีหนาที่รับผิดชอบควรเรงดำเนินการสำรวจและวางมาตรการ
                  ปองกันและรักษาสภาพปาใหสมบูรณ  

                                                                                                 ี่
                            5.1.2.2  เขตเกษตรกรรม มีเนื้อที่ 2,913,277 ไร หรือรอยละ 67.11 ของพื้นทจังหวัด
                                                      ี่
                  กาฬสินธุ พื้นที่เขตการเกษตรนี้เปนบริเวณทอยูนอกเขตทมการประกาศเปนเขตปาไมตามกฎหมาย เขต
                                                                  ี
                                                                 ี่
                                                                                                      ื
                  นี้เกษตรกรมีการใชพื้นที่เพื่อทำการเกษตร เชน นาขาว พืชไร ไมผล พืชผัก หรือไมยืนตน แตเม่อ
                  พิจารณาถึงความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการเกษตรและทิศทางการพัฒนาพื้นที่นี้ สามารถแบงพื้นที่เขต
                  การเกษตรเปน 3 เขต คือ เขตเกษตรพัฒนา เขตเกษตรกาวหนา และเขตเรงรัดพัฒนาการเกษตร โดยม ี
                  รายละเอยดดงนี  ้
                         ี
                             ั
                                  1) เขตการเกษตรชั้นดี พื้นที่ของเขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมในพื้นท ่ ี
                  ชลประทาน และสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indications หรือ GI) มีเนื้อที่ 471,152 ไร

                  หรือรอยละ 12.11 ของเนื้อทจังหวัดกาฬสินธุ พื้นที่ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                                          ี่
                  เปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลวหรือดีปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ
                  ปานกลางถึงสูง และเปนพื้นที่ที่มีการพัฒนาระบบน้ำชลประทานหรือระบบสูบน้ำดวยไฟฟาเพอการเพาะปลูก
                                                                                           ื่
                  ดังนั้น ในชวงฤดูแลงหลังจากการเก็บเกี่ยวขาวนาป ในพื้นที่ที่มีปริมาณน้ำเพียงพอ เกษตรกรสามารถ

                  ปลูกพืชครั้งที่สองโดยเฉพาะขาวนาปรัง หรือพืชไร เชน ขาวโพด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว เปนตน พื้นท่ ี
                  เขตเกษตรกรรมชั้นดีสามารถแบงเขตการใชที่ดินเพื่อการผลิตไดเปน 7 เขต ตามศักยภาพและ
                  ความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                    (1)   เขตทำนา (หนวยแผนที่ 211) มีเนื้อที่ 116,964 ไร หรือรอยละ

                              ี่
                  2.69 ของเนื้อทจังหวัดกาฬสินธุ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกปานกลาง
                                                                  
                                                                      
                  ถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง เขตนี   ้
                  กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกขาวโดยน้ำชลประทานเปนหลัก เกษตรกรสามารถเปลี่ยน
                                                                                                 ิ
                                      
                  การใชที่ดินจากการปลูกขาวมาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอินทรียได และมีสิ่งบงชี้ทางภูมศาสตร
                                    (2)   เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 212) มีเนื้อ 13,290 ไร หรือรอยละ 0.31
                          ี
                          ่
                  ของเนื้อทจังหวัดกาฬสินธุ ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินท ี ่
                  พบเปนดินลึกถึงลึกมาก มีการระบายน้ำดี ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง
                  สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนพืชไร เชน มันสำปะหลัง ออยโรงงาน เปนตน พื้นที่เขตนี ้

                  กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพอการปลูกพืชไรพื้นทที่มการพัฒนาระบบน้ำชลประทานแตระบบสงน้ำ
                                             ื่
                                                                 ี
                                                              ี่
                  ไมทั่วถึงหากมีระบบสงน้ำแลว หรือมีสระน้ำในไรนา เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูกพืชไร
                  มาเปนการปลูกไมผลหรือพืชผัก ทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204