Page 197 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 197

5-7





                                        
                                                                                 
                                                                                             
                                                                                         ิ
                                             
                                                               
                                              
                                                                 ื
                                                                 ่
                                     ้
                        ี
                        ่
                                                                                                    ื
                  การใชทดนพนทในเขตนีอยูภายใตขอกำหนดใหเปนปาไมเพอการใชประโยชนดานเศรษฐกจ ไมควรนำพนท ่ ี
                                                                                                    ้
                               ่
                               ี
                            ื
                          ิ
                            ้
                  บริเวณนี้มาใชทางดานการผลิตพืชเศรษฐกิจทั่วไป แตควรใชพื้นที่นีปลูกไมโตเร็วในลักษณะของสวนปา
                                                                          ้
                  เศรษฐกิจหรือปาชุมชนของเกษตรกรในพื้นท  ี่
                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่
                                        - นโยบายการบริหารจัดการสวนปาไมเศรษฐกิจอยางยั่งยืน
                  การเพิ่มพื้นที่ปาเศรษฐกิจ 26 ลานไร เปนเปาหมายพื้นที่ปาไมของประเทศควรจัดการในพื้นที่ ปาอนุรักษ  
                  สวนปาอุตสาหกรรม สวนปาพลังงาน สวนปาชุมชน ควรเสริมสรางแรงจูงใจและลดขอจำกัดตาง ๆ ให
                  ประชาชน
                                        - การปรับแกไขกฎหมาย รักษา เพิ่มพื้นที่ปาไม และการตัดฟนไม   
                  ปรับแก พ.ร.บ.ปาไม พ.ศ. 2484 “มาตรา 7 ไมสัก ไมยาง ไมชิงชัง ไมเก็ดแดง ไมอีเมง ไมพะยุงแกลบ
                                                                                   
                                                                                                  
                                                                                                    ็
                  ไมกระพี้ ไมแดงจีน ไมพะยุง ไมกระซิก ไมกระซิบ ไมพะยูง ไมหมากพลูตั๊กแตนไมกระพี้เขาควาย ไมเกดดำ
                                                  ึ้
                  ไมอีเฒา และไมเก็ดเขาควาย ไมวาจะขนอยูที่ใดในราชอาณาจักร เปนไมหวงหามประเภท ก ไมชนิดอน
                                                                                                 
                                                                                                      ื่
                  ในปาจะใหเปนไมหวงหามประเภทใด ใหกำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา”
                                        - สงเสริมและสรางแรงจูงใจใหประชาชนเขามามีสวนรวมทั้งใน
                  ฐานะผูปลูกสวนปาและผูดูแลจัดการปาที่สามารถใชประโยชนจากเนื้อไมในทางเศรษฐกิจไดอยางเสรี
                  ตามระบบการจัดการปาไมที่ยั่งยืน
                                        - การยกเลิกขอจำกัดการตัดไมหวงหามในที่ดินของเอกชนเปน
                  การสรางแรงจูงใจที่สำคัญที่จะทำใหเอกชนและชุมชนเขามาลงทุนในการทำไมมากขึ้น การยกเลิก
                  ขอจำกัดการตัดไมหวงหามควรจำกัดเฉพาะไมที่ขึ้นในที่ดินของเอกชน ไมรวมถึงไมในเขตปาสมบูรณ
                  หรือปาสงวนการยกเลิกขอจำกัดในการตัดไมหวงหามในที่ดินของเอกชนนั้นสามารถทำไดเพราะทดินของ
                                                                                                 ี่
                  เอกชนนั้นมเอกสารสิทธิ์อันแสดงวาเอกชนมีสิทธิ์ในที่ดินนั้น ซึ่งรวมถึงตนไมที่ขึ้นบนที่ดินของเอกชนดวย
                            ี
                  และการตัดไมหวงหามในที่ดินของเอกชนซึ่งสวนใหญเปนไมที่ปลูกขึ้นนั้นถือวาไมกระทบกับสภาพ
                              
                  ความสมบูรณของธรรมชาติเหมือนกับการทำลายปาธรรมชาติ
                                                                                    ิ่
                                        - ใน พ.ร.บ.สวนปา พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพมเติม ใหไมปลูกทุกชนิด
                  สามารถขึ้นทะเบียนได
                                        - การตรวจสอบไมตาม พ.ร.บ.สวนปา พ.ศ. 2535 และที่แกไข
                  เพิ่มเติม ใหสามารถมีชองทางการตรวจสอบเพิ่มเติมเพื่ออำนวยความสะดวกแกผูปลูกสรางสวนปา เชน
                                                                                     
                  การตรวจรับรองไมดวยตนเอง เปนตน
                                        - สงเสริมใหเกิดธรรมาภิบาล และขจัดปญหาทุจริต คอรัปชั่นท      ี ่
                  เกี่ยวของกับการปาไม ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
                                        - โรงงานแปรรูปไมควรไดรับอนุญาตใหแปรรูปไมไดทุกชนิดและ
                  เดินเครื่องได 24 ชั่วโมง

                                        - ใบอนุญาตโรงงานแปรรูปไมควรมีเพียงฉบับเดียว ซึ่งสามารถ
                  แปรรูปไม ทั้งเลื่อยซุง อบไสซอย แปรรูปเปนสิ่งประดิษฐหรือไมแปรรูปเพื่อการคาในประเทศและสงออก
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202