Page 196 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 196

5-6





                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่

                                        - กำหนดมาตรการและแนวทางในการปองกันมิใหราษฎรบุกรุก
                  พื้นที่ในเขตนี้เพื่อนำกลับมาใชดานการเกษตรกรรม
                                        - ควรจัดทำแนวกันไฟเพื่อปองกันไฟปาที่อาจเกิดขึ้นไดจาก

                  ธรรมชาติหรือกิจกรรมจากมนุษย เพื่อใหปาไมมีการฟนตัวตามธรรมชาติที่สมบูรณ  
                                                                                                      ึ
                                        - ควรจัดการอบรมแนะนำใหราษฎรในพื้นที่ขางเคียงไดเห็นถง
                  คุณคาของทรัพยากรปาไมและการมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไม  
                                    (3)   เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไข (หนวยแผนที่ 123) ม  ี

                                                                       
                                                          ่
                                                          ี
                  เนื้อที่ 104,643 ไร หรือรอยละ 2.41 ของพื้นทจังหวัดกาฬสินธุ พื้นที่เขตนี้อยูในเขตปาตามกฎหมาย
                  พื้นที่ในเขตนี้จึงเปนพื้นที่รอการพิสูจนสิทธิ์ ดังนั้นมาตรการการใชที่ดินดังกลาวควรเปนไปตามมต ิ
                  คณะรัฐมนตรี เรื่องมาตรการและแนวทางการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
                                       ื้
                                         ี่
                                                                             ื่
                  ซึ่งมาตรการการใชที่ดินพนทในเขตนี้อยูภายใตขอกำหนดใหเปนปาไมเพอการใชประโยชนดานเศรษฐกจ
                                                                                                      ิ
                                                         
                  ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเปนปาไมที่สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกโดยการตัดตนไมและนำ
                  ที่ดินมาใชประโยชนดานเกษตรกรรม ไดแก พืชไรหรือไรหมุนเวียน หรือบริเวณที่เปนดินตื้น ซึ่งไม 
                  เหมาะสมตอการใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมเนื่องจากขอจำกัดดังกลาว เมื่อเวลาฝนตกจึงมีแนวโนม
                  ของการเกิดการชะลางพังทลายของดินในระดับคอนขางสูง ทำใหหนาดินที่มีความอุดมสมบูรณตาม

                  ธรรมชาติสูญเสียไป นอกจากนั้นจะเกิดผลกระทบจากการทับถมของตะกอนดินที่ถูกพดพามาในบริเวณ
                                                                                         ั
                  ทางตะวันตกของจังหวัดกาฬสินธุและแหลงน้ำธรรมชาติ จึงไมควรนำพื้นที่บริเวณนี้มาใชทางดานการผลิต
                                             
                  พืชเศรษฐกิจทั่วไป แตควรใชพื้นที่นี้ปลูกไมโตเร็วในลักษณะของสวนปาเศรษฐกิจหรือปาชุมชนของ
                  เกษตรกรในพื้นท  ี่

                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่
                                        เนื่องจากพื้นที่ในเขตนี้ที่ดินถูกบุกรุกและจับจองเพื่อการทำ
                                                                  ิ
                  เกษตรกรรม อยางตอเนื่องมานาน จึงมีปญหาเรื่องสิทธิทำกนของราษฎร ดังนั้นแนวทางในการดำเนินการ
                                                                                               
                                                                                 ิ
                                                                                  ุ
                  แกไขปญหาจะตองดำเนินการใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มถนายน 2541 แตในขณะท ่ ี
                  ผลการตรวจสอบพิสูจนการครอบครองที่ดำเนินการโดยกรมปาไมยังไมแลวเสร็จ ควรเรงดำเนินการ
                                                        ั
                  อบรมแนะนำใหราษฎรในพนทไดเห็นความสำคญของทรัพยากรปาไม การมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไม 
                                        ื้
                                          ี่
                  และดำเนินโครงการเพื่อการเปลี่ยนระบบการปลูกพืชเศรษฐกิจมาเปนการปลูกปาเชิงเศรษฐกิจแทน
                  สวนบริเวณที่เปนปาเสื่อมโทรมควรกำหนดมาตรการและแนวทางในการปองกันมิใหราษฎรบุกรุกพื้นท ี ่
                  ดังกลาวเพื่อใชในการเกษตรกรรม ควรปลอยใหพันธุไมมีการฟนตัวตามธรรมชาติเพื่อเปนปาไมทสมบูรณ 
                                                                                                ี่
                  ตอไป หรือใหสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมดำเนินการปฏิรูปที่ดินในพื้นที่ที่เหมาะสม
                                                                               ่
                  และควรกำหนดมาตรการอนุรักษดินและน้ำใหเหมาะสมกับสภาพพื้นทีเพื่อใหเกิดการทำการเกษตร
                  แบบยั่งยืนตอไป

                                    (4)   เขตสวนปาเศรษฐกิจ (หนวยแผนที่ 124) มีเนื้อที่ 6,775 ไร หรือ
                  รอยละ 0.16 ของพนทจังหวัดกาฬสินธุ พ้นท่เขตนี้อยูในเขตปาตามกฎหมาย พ้นท่ในเขตนีเปนพ้นท่ ี
                                                                                     ื
                                                                                               ้
                                                                                        ี
                                                   
                                                      ื
                                                        ี
                                   ื้
                                      ี่
                                                                                                    ื
                  ขออนุญาตรัฐทำปาเศรษฐกิจไมมีคา ดังนั้นมาตรการการใชที่ดินดังกลาวควรเปนไปตามนโยบายรัฐ
                                              
                  เรื่องมาตรการและแนวทางการแกไขปญหาทดินในพื้นทปาไม เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 ซงมาตรการ
                                                                                              ึ่
                                                                ี่
                                                       ี่
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201