Page 191 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 191

่
                                                         บทที 5
                                                    แผนการใชที่ดิน



                                   ่
                  5.1  เขตการใชทีดิน
                      5.1.1 แผนการใชที่ดิน
                          การดำเนินการจัดทำแผนการใชที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ ไดดำเนินการตามกรอบการทำงาน
                                                                         
                  ขององคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) Guidelines for Land-Use Planning ซึ่งเปน
                  แนวทางในการวิเคราะหประเมินปจจัยที่เกี่ยวของทางดานกายภาพ สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สังคมและ
                  การใชที่ดินในรูปแบบตาง ๆ อยางเปนระบบ เพื่อชวยเหลือสนับสนุนใหผูเกี่ยวของมีสวนไดสวนเสียใน

                                                        ิ
                  การใชประโยชนที่ดิน มีทางเลือกที่เหมาะสมเกดประโยชนสูงสุด และตอบสนองความตองการของสังคม
                                                                             
                                                                                                    ี
                                                                                                    ่
                  อยางยั่งยืน (FAO, 1993) การกำหนดแผนการใชที่ดินจังหวัดกาฬสินธุครั้งนี้ ไดใชขอมูลเชิงพื้นทและ
                  ขอมูลอรรถาธิบายที่สำคญคือฐานขอมูลดิน ความเหมาะสมของที่ดิน การใชที่ดิน ทรัพยากรนา ปาไม  
                                       ั
                  นโยบาย กฎหมาย ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศที่สำคัญ และฐานขอมูลที่เกี่ยวของ ที่มีความละเอียด
                  ถูกตอง ทันสมัย ผนวกกับใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เชน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS)
                                  ู
                                
                                          ่
                  ในการวิเคราะหขอมลเชิงพนทและการใช DPSIR Framework (Kristensensen, 2004) รวมในการวิเคราะห
                                          ี
                                       ้
                                       ื
                  จัดทำเพื่อใหแผนการใชที่ดินที่กำหนดขึ้นสามารถ นำไปใชเปนกรอบกำหนดแนวทางจัดการพื้นที่ไดอยาง
                  มีประสิทธิภาพ การวางแผนการใชที่ดินสำหรับวันขางหนานั้น มีวัตถุประสงคและเปาหมายที่จำเพาะ
                  เจาะจง ซึ่งกำหนดขึ้นโดยความตองการของสังคมและนโยบายของจังหวัดกาฬสินธุ
                                                                                                       
                                   ี่
                  การวางแผนการใชทดินจะตองวางแผนใหเหมาะกับสถานการณในปจจุบัน การวางแผนการใชทดินทจะ
                                                                      
                                                                                                     ี่
                                                                                                 ี่
                  ใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจำกัดใหเกิดประโยชนมากที่สุดยั่งยืน และรวมระบบการผลิตที่เปน
                  มิตรกับสิ่งแวดลอม มีจุดมุงหมายคือ 1) ประเมินความตองการในปจจุบันและอนาคต และกำหนด
                  รูปแบบการประเมินความเหมาะสมของที่ดินที่จะสนองตอความตองการ 2) แยกแยะหรือแจกแจง
                  ขอขัดแยงระหวางการใชที่ดินตางประเภทกัน 3) วิเคราะหหาทางเลือกการใชที่ดินที่คงทนถาวร
                  ทางเลือกเหลานี้จะตองเปนทางเลือกท 4) ดีที่สุดที่ตรงกับความตองการของทองถิ่นนั้น ๆ 5) วางแผนให
                                                                                 
                                                  ี่
                  สามารถเกิดความตองการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน และ 6) เรียนรูจากสิ่งที่ผิดพลาดมากอน (บัณฑิต, 2535)
                                                       
                  ดังนั้น แผนการใชที่ดินของจังหวัดกาฬสินธุ มีจุดมุงหมายเพื่อเปนกรอบแนวทางในการใชที่ดินใหม ี
                  ประสิทธิภาพและยั่งยืน สอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจสังคม รวมทั้งการอนุรักษ จัดสรรทรัพยากรที่ด  ี
                  และเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด โดยนำฐานขอมูลทรัพยากรดินและสมบัติของดิน
                  การประเมินคุณภาพที่ดิน (สำนักสำรวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2548ก; 2548ข; 2548ค; และ 2548ง)

                  พื้นที่รับน้ำชลประทาน (กรมชลประทาน, 2558) เขตปาไม (กรมปาไม, 2559) เขตอุทยาน เขตรักษาพันธุ
                                                                          
                  สัตวปา เขตหามลาสัตวปา (กรมอุทยานสัตวปาและพันธุพืช, 2559) เขตปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
                  ของสำนักงานปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (2556) ชั้นคุณภาพลุมน้ำ ของสำนักงานนโยบายและแผน

                                                                                                      ิ
                                                                                                    ี
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2536) และที่ราชพัสดุ นำมาใชในการกำหนดนโยบายการใชท่ดน
                  และทรัพยากรที่ดินในภาพรวมของจังหวัดกาฬสินธุ เพื่อขยายผลสูปฏิบัติระดับตำบลได ตอไป
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196