Page 195 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 195

5-5





                                              ี่
                                                                                        ุ
                  จำแนกเขตการใชทรัพยากรและทดินปาไมในเขตปาสงวนแหงชาติและบริเวณเขตชั้นคณภาพลุมน้ำชั้นท  ี่
                                                                                       ี่
                  3 4 และ 5 ตามมติคณะรัฐมนตรีเรื่องการกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำโดยจำแนกพื้นที่ทเปนเขตปฏิรูปทดิน
                                                                                                    ี่
                                                                                                      ิ
                  ออกแลว เขตพื้นที่ปาเศรษฐกิจนี้ เมื่อพิจารณาจากขอมูลผลการสำรวจสภาพการใชประโยชนที่ดน
                                                                                                
                                             ี่
                  สามารถจำแนกออกเปนบริเวณทมีสภาพปาไมสมบูรณ บริเวณที่มีสภาพปาไมเสื่อมโทรมหรือไมละเมาะ
                  ซึ่งเปนบริเวณที่มีการบุกรุกพื้นที่ปาไมเพื่อการทำไมและทำการเกษตรในอดีต และพื้นที่ที่มีการทำ
                  การเกษตรและปลูกสรางที่อยูอาศัยในปจจุบัน เปนพื้นที่รอการพิสูจนสิทธิ์ โดยเมื่อพิจารณารวมกับ
                  ขอมูลสภาพพื้นที่และลักษณะทางกายภาพของดินบริเวณที่เกษตรกรบุกรุกพื้นที่ปาไม สามารถ
                  กำหนดเขตการใชที่ดินไดเปน 4 เขต โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                    (1)   เขตบำรุงรักษาสภาพปา (หนวยแผนที่ 121) มีเนื้อที่ 5,800 ไร หรือ
                                     ี่
                  รอยละ 0.13 ของพื้นทจังหวัดกาฬสินธุ พื้นที่ในเขตนี้มีสภาพเปนปาไมสมบูรณ ซึ่งอยูภายใตขอกำหนดท ี่
                  ตองสงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษปาไมในเขตพื้นทปาไมเพอการใชประโยชนดานเศรษฐกิจ
                                                               ื่
                                                         ี่
                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่
                                                                  ่
                                                                                                    ื
                                                                                                    ่
                                                            ี
                                        - ควบคมมใหมการเปลียนแปลงธรรมชาตไปใชประโยชนในรูปแบบอน ๆ
                                                        ิ
                                                      ุ
                                                                                ิ
                                        - ควรมีการบำรุงรักษาสภาพปาธรรมชาติตามหลักวิชาการ
                                        - ดำเนินการปองกันและปราบปรามการลักลอบตัดไมทำลายปาใหม        ี
                                                                                           
                  ประสิทธิภาพและมีผลการปฏิบัติอยางตอเนื่อง โดยดำเนินการกับผูกระทำผิดอยางเด็ดขาด
                                                                                            
                                        - ถาบริเวณนี้มีการบุกรุกพื้นที่ในภายหลัง เจาหนาที่ผูรับผิดชอบใน
                  พื้นที่ควรรีบดำเนินการปลูกปาทดแทนโดยเร็ว เพื่อปองกันการขยายพื้นที่ของการบุกรุกตอไป
                                        - ควรสงเสริมใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของ
                  ทรัพยากรปาไมและมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่เพื่อเปนการรักษาสภาพปาไมใหสมบูรณ 
                  และใหทรัพยากรปาไมมีผลผลิตสม่ำเสมอตลอดไป ในขณะเดียวกันควรกำหนดมาตรการในการใชประโยชน
                  จากปาไมและการหาของปารวมกันระหวางองคกรของราษฎรในพื้นที่รวมกับเจาหนาทีของรัฐฯ
                                                                                                ่
                  ที่รับผิดชอบและเสริมความรูใหกับราษฎรในพื้นที่ใหเห็นความสำคัญของปาไม  
                                    (2)   เขตฟนฟูสภาพปา 2 (หนวยแผนที่ 122) มีเนื้อที่ 988 ไร หรือ

                  รอยละ 0.02 ของพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ พื้นที่เขตนี้อยูภายใตขอกำหนดที่ตองสงวนพื้นที่เพื่อการ
                                                                                  ื
                                                                                    ี
                  อนุรักษปาไมในเขตพ้นท่ปาไมเพ่อการใชประโยชน ดานเศรษฐกิจ ในอดีตพ้นท่บริเวณนี้เคยเปนปาไม 
                                              ื
                                       ี
                                    ื
                  ที่สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกที่ดิน มีการตัดตนไมเพื่อใชประโยชนและนำที่ดินมาใชดาน
                  เกษตรกรรม แตเนื่องจากขอจำกัดของลักษณะทางกายภาพของดิน และสภาพภูมิประเทศในเขตนี้ไม   
                  เหมาะสมสำหรับการเกษตร ทั้งนี้เนื่องจากดินที่พบสวนใหญเปนดินตื้นหรือสภาพพื้นที่มีความลาดชัน
                  เกินกวา 35 เปอรเซ็นต เมื่อดินเสื่อมโทรมลง ผลผลิตทางการเกษตรกรรมเริ่มลดลงจนไมคุมกับการลงทน
                                                                                                      ุ
                  เกษตรกรที่ครอบครองที่ดินก็ปลอยใหเปนที่รกรางวางเปลา และเนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้มีลูกไมของ
                  พรรณไมดั้งเดิม ซึ่งสามารถเจริญเติบโตและปรับสภาพไดระดับหนึ่ง ถาไมมีกิจกรรมที่จะรบกวนพื้นที  ่

                  โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชที่ดินดังกลาวเพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาที่เสื่อมโทรมจะสามารถฟนตัวขึ้นมา
                  เปนปาไมทสมบูรณไดอีกครั้ง จึงควรใหพื้นที่บริเวณนี้กลับคืนสูสภาพปาตามธรรมชาติดังเดม
                                                                                                      ิ
                            ี
                            ่
                  หรือใชพื้นที่นี้ปลูกไมโตเร็วในลักษณะของสวนปาเศรษฐกิจหรือปาชุมชนของเกษตรกรในพื้นท  ี่
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200