Page 198 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 198

5-8





                                        - ควรปรับปรุง/ยกเลิก พ.ร.บ.เลื่อยโซยนต พ.ศ. 2545 และที่แกไข

                                      ุ
                  2555 โดยเลื่อยโซยนตทกขนาดตองลงทะเบียนกับผูขายหรือผูผลิต อีกทั้งเมื่อจดทะเบียนแลวควรขยาย
                  ขอบเขตการใชงานในตางพื้นที่ได
                                                                                                      ึ
                                                                                             ี
                                                                                                      ้
                                        - ทบทวนอายุใบอนุญาตแปรรูปไม ประเภทโรงงานใหมอายุมากขน
                                                                            
                                                 
                                            ่
                                              ี
                  หรือสอดคลองกับใบอนุญาตทเก่ยวของ เชน ใบอนุญาตประกอบกิจการมอายุ 5 ป ดังนั้นใบอนุญาต
                                                                                ี
                                            ี
                  การแปรรูปไม ควรมอายุ 5 ปเทากัน
                                   ี
                             
                                        - ปรับปรุงวิธีการปฏิบัติของพ.ร.บ.ปาไม พ.ศ. 2484 เรื่องใบเบิกทาง
                  และใบกำกับไม ดวยการลดขั้นตอนเพอใหสะดวก มีประสิทธิภาพ และเปนที่ยอมรับของผูมีสวนไดสวนเสีย
                                                ื่
                                        - สนับสนุนโรงงานอุตสาหกรรมตอเนื่อง นำทุกสวนของไมมาใช
                  ประโยชน
                                        - การลดนำขาน้ำมันเชื้อเพลิง การปลูกปาเพื่อเปนแหลงพลังงาน
                  ทดแทน
                                        - พื้นที่ลาดชันเกิน 35% ไมควรอนุญาตใหมีการออกโฉนด/หนังสือ
                  รับรองการทำประโยชน
                                  3) เขตคงสภาพปาไมนอกเขตปาตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี
                  มีเนื้อที่ประมาณ 150,358 ไร หรือรอยละ 3.46 ของพื้นทจังหวัดกาฬสินธุ เขตนี้อยูภายใตขอกำหนด
                                                                   ี
                                                                                
                                                                   ่
                  เปนบริเวณที่อยูนอกเขตปาตามกฎหมาย แตมีสภาพการใชที่ดินเปนปาสมบูรณหรือปาเสื่อมโทรม
                  และพบวาบางพื้นที่มีการอนุรักษไวเปนปาชุมชน และอาศัยปาดังกลาวในการหาของปาเพื่อมาบริโภค
                  ภายในครัวเรือนหรือจำหนาย
                                    (1)   เขตบำรุงรักษาสภาพปา1 (หนวยแผนที่ 141) มีเนื้อที่ 105,396 ไร

                  หรือรอยละ 2.43 ของเนื้อทจังหวัดกาฬสินธุ พื้นที่ในเขตนี้มีสภาพเปนปาไมสมบูรณ หรือปาละเมาะ
                                         ี่
                                        ขอเสนอแนะในการใชพื้นท       ี่
                                                                                ิ
                                                                  ่
                                        - ควบคมมใหมการเปลียนแปลงธรรมชาตไปใชประโยชนในรูปแบบอน ๆ
                                                      ุ
                                                                                                    ื
                                                        ิ
                                                            ี
                                                                                                    ่
                                        - ควรมีการบำรุงรักษาสภาพปาธรรมชาติตามหลักวิชาการ
                                        - ควรปลูกไมปาเพิ่มเติม เพิ่มความหลากหลายชนิพืชพรรณปาไม   
                                        - ควรสงเสริมใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของ
                  ทรัพยากรปาไมและมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่เพื่อเปนการรักษาสภาพปาไมใหสมบูรณ 
                  และใหทรัพยากรปาไมมีผลผลิตสม่ำเสมอตลอดไป ในขณะเดียวกันควรกำหนดมาตรการในการใช
                  ประโยชนจากปาไมและการหาของปารวมกันระหวางองคกรของราษฎรในพื้นที่และเสริมความรูใหเห็น
                                                                              ี
                                                                              ่
                  ความสำคัญของปาไม ในขณะเดียวกันหนวยงานของรัฐบาลที่มีหนาทรับผิดชอบควรเรงดำเนินการ
                  สำรวจและวางมาตรการปองกันและรักษาสภาพปาใหสมบูรณ  
                                                                             ่
                                                                                         ี
                                    (2)   เขตฟนฟูสภาพปา3 (หนวยแผนท 142) มีเนื้อท 44,962 ไร หรือ
                                                                                         ่
                                                                             ี
                                                    
                                     ี
                                     ่
                  รอยละ 1.03 ของพื้นทจังหวัดกาฬสินธุ พื้นที่เขตนี้อยูภายใตขอกำหนดที่ควรสงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษ 
                                          ้
                                                                                      
                  สภาพแวดลอม โดยในอดีตพนท่บริเวณนีเคยเปนปาไมทสมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกท่ดิน
                                                                                                    ี
                                                                        
                                                                 ่
                                                                 ี
                                                               
                                             ี
                                          ื
                                                    ้
                  มีการตัดตนไมเพื่อใชประโยชนและนำที่ดินมาใชดานเกษตรกรรมในระยะเวลาหนึ่ง เมื่อดินเสื่อมสภาพลง
                  สงผลให ผลผลิตทางการเกษตรลดลงจนไมคุมกับการลงทุน เกษตรกรที่ครอบครองที่ดินก็ปลอยให
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203