Page 201 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 201

5-11





                  ปลากะพงขาว ปลากินพืช(ยังชีพ) วัตถุประสงคของการเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อจำหนายในตลาดขายสง

                                                        ื
                                                                       ิ
                  และใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพ่อจำหนายในทองถ่น ซ่งมีความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้
                                                                           ึ
                  เพื่อเปนแหลงอาหารประเภทโปรตีน
                                    ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่เขตเกษตรกรรมชั้นดี
                                    - ควรพัฒนาเปนแหลงผลิตเมล็ดพันธุขาว
                                    - ควรพัฒนาสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ของพืช และสัตว ปลา เพิ่มขึ้น
                                    - แปลงนาขาว ควรมีการปรับสภาพพื้นที่ในใหสม่ำเสมอ เพื่อควบคุม
                  ระดับการขังของน้ำในระหวางการเพาะปลูกใหเหมาะสม

                                    - ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก
                  หรือปุยพืชสด เพื่อชวยปรับปรุงโครงสรางของดินเพิ่มการอุมน้ำของดิน และเพิ่มธาตุอาหารที่เปน
                  ประโยชนสำหรับพืช รวมกับการใสปุยวิทยาศาสตรในอัตราสวนที่เหมาะสม
                                    - ควรปลูกพืชคลุมดินเพื่อรักษาความชุมชื้นของดิน

                                                                
                                                                 ิ
                                                                                           ั
                                    - แนะนำใหมีการอนุรักษดนและน้ำเพอปองกนการชะลางพงทลายของดน
                                                                          ื
                                                                          ่
                                                                                                      ิ
                                                                                ั
                  รวมถึงการแนะนำสงเสริมใหมีการปลูกพืช และไถพรวนขวางความลาดชันของพื้นท  ี่
                                    - พัฒนาองคกรเกษตร ในเขตดังกลาวใหมีความเขมแข็ง สามารถ
                  ดำเนินการเพื่อชวยเหลือเกษตรกร ทั้งในดานปจจัยการผลิตที่มีราคาคอนขางสูงและคุณภาพของปจจัย
                  การผลิตที่ตองอยูในระดับที่ดี เชน ปุย สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช และกิ่งพันธุ ปญหาหนี้สินของ
                                                                                                      ื้
                  เกษตรกรซึ่งมีผลตอการลงทุนของเกษตรกร การควบคุมคุณภาพของผลผลิต การจัดการตลาดที่จะรับซอ
                  ผลผลิตทางการเกษตรที่เปนระบบ
                                  2) เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตสูง มเนื้อที่ 1,975,494 ไร หรือรอยละ
                                                                             ี
                  45.50 ของพื้นทจังหวัดกาฬสินธุ พื้นที่เขตนี้ถูกกำหนดใหเปนเขตการเกษตร ซึ่งลักษณะดินที่พบในที่ลุม
                                                                                                      
                               ี
                               ่
                                                                                              ึ
                                                                  
                                                              
                  สวนใหญเปนดินลึกมาก มียสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการระบายน้ำเลวถงปานกลาง
                                                                                           
                  มีการใชประโยชนที่ดินสำหรับการทำนา สวนบริเวณที่เปนที่ดอนมีสภาพพื้นที่ตั้งแตราบเรียบหรือ
                                                              ี
                                                                         
                                                              ่
                                                                                                     ี
                  คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ลักษณะดินทพบสวนใหญเปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำดถง
                                                                                                      ึ
                   
                  ดีปานกลาง การใชประโยชนที่ดินบริเวณดังกลาวนี้สวนใหญมการปลูกพืชไร ไดแก ขาวโพด ออยโรงงาน
                                                                    ี
                                                                                                   ื
                                                                                     ี
                  มันสำปะหลัง เปนตน บางพื้นที่มีแหลงน้ำที่สมบูรณเพียงพอ เกษตรกรจะใชพื้นท่เพื่อทำนา ปลูกพชผัก
                  และไมผล ไดแก ไมผลผสม มะมวง มะนาว เปนตน นอกจากนั้นยังมการปลูกไมยืนตน เชน สัก ยางพารา
                                                                         ี
                  มะขาม สะเดา เปนตน ผลการประเมินความเหมาะสมของดินทางกายภาพในเขตนี้อยูในระดับความเหมาะสม
                  ปานกลางถึงสูงตอการปลูกพืช ซึ่งอาจมีขอจำกัดบางประการในการใชทีดน พื้นที่เขตเกษตรกรรมที่ม ี
                                                                                 ิ
                                
                                                                               ่
                  ศักยภาพการผลิตสูง สามารถแบงเขตการใชที่ดินเพอการผลิตไดเปน 8 เขต ตามศกยภาพและความเหมาะสม
                                                                                  ั
                                                          ื
                                                          ่
                                                                    
                  ของที่ดิน ไดดังนี้
                                    (1)   เขตทำนา (หนวยแผนที่ 221) มีเนื้อที่ 591,956 ไร หรือรอยละ
                                ี
                                ่
                  13.63 ของเนื้อทจังหวัดกาฬสินธุ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกปาน
                  กลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลวหรือคอนขางเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลาง
                  ถึงสูง เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกขาวโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก เกษตรกรสามารถ
                              ี
                     ่
                  เปลียนการใชทดนจากการปลูกขาวมาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอนทรียได  
                              ่
                                                                                ิ
                                            
                               ิ
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206